โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555.
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
โครงการสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การนิเทศติดตาม.
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
สาธารณสุขร่วมใจลดภัยโลกร้อน ภายใต้แนวคิดของกรมอนามัย GREEN & CLEAN
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ศูนย์การเรียนรู้ลดโลกร้อน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 1 สิงหาคม 2554 โรงแรมโกลเด้นซิตี้ จ.ลพบุรี

รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ โครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โลกร้อน (สถานการณ์) รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ (Technology)

สถานการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในประเทศไทย (2552) (รวม = 214,000 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) 56.1% 24.1% 7.8% 6.6% 5.4% ที่มา: องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือกกระจก จำกัด (มหาชน)

ลดการเกิด Gas เรือนกระจก Global Warming Gas เรือนกระจก ( CO2 : CH4 = 21: 1 ) ลดการเกิด Gas เรือนกระจก CH4 พลังงานทดแทน ของเสีย ใช้ประโยชน์

แนวคิดการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ น้ำเสีย การใช้ประโยชน์จากน้ำเสีย อุจจาระ พลังงาน- ปุ๋ย ปัสสาวะ ปุ๋ย ของเสีย ขยะเปียก พลังงาน-ปุ๋ย Sanitation Technology ขยะแห้ง การกลับมาใช้ใหม่ มูลสัตว์ พลังงาน- ปุ๋ย ขยะอันตราย กำจัดอย่างถูกวิธี

วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขดำเนินงานลดโลกร้อน ภายใต้ GREEN & CLEAN 2 เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นแบบอย่างการดำเนินการลดโลกร้อน 3 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคลากรในเรื่องโลกร้อนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

พื้นที่เป้าหมาย สถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลในสังกัดกรมวิชาการ

เป้าหมายความสำเร็จ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล ทุกแห่ง ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่ง โรงพยาบาล อำเภอละ 1 แห่ง สถานีอนามัย โรงพยาบาล 84 แห่ง (ศูนย์อนามัย 12 ศูนย์ โรงพยาบาล 72 แห่ง) สถานีอนามัย 84 แห่ง

เป้าหมายกิจกรรม(Green) garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล

rest room การจัดการส้วมให้ได้มาตรฐาน HAS

energy ประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทนจากชีวภาพ

environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง

C L A E N Communication การสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความเข้าใจ Leader สร้างบทบาทนำ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน Effectiveness ให้บังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ Activity สร้างกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกอย่างมีส่วนร่วม Networking ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน กลยุทธ์หลัก Clean C L A E N

C : Communication

L : Leadership

E : Effectiveness

A : Activities

N : Networking

ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน GREEN CLEAN HOSPITAL SuSan Strategy Setting ชุมชน อสม & Net work ทำอะไร ทำอย่างไร ทำที่ไหน การขยายผล ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน

ตัวอย่างกิจกรรม

ลดขยะด้วยการทำ BIOGAS

ลดการใช้พลังงาน กับ ราวตากผ้าอัจฉริยะ

น้ำหมักชีวภาพประโยชน์ขยะอินทรีย์

กำจัดขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน

ธนาคารขยะสร้างรายได้

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ปี 2554 GREEN กิจกรรมสร้างจิตสำนึก เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยใช้ CF เป้าหมาย -Zero Waste -Zero Emission -Zero Carbon เริ่ม พัฒนา วิสัยทัศน์

เป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2554 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข อำเภอละ 1 แห่ง รพสต. หรือ PCU หรือ สอ. อำเภอละ 1 แห่ง “เข้าร่วมโครงการฯ และดำเนินกิจกรรมครบ GREEN”

แนวทางการพัฒนาโครงการฯ สมัครร่วมโครงการ ดำเนินกิจกรรม GREEN รพ.ร่วมลดโลกร้อน เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพโดยใช้ Carbon Footprint รพ.ลดโลกร้อน Zero Waste Zero Emission Zero Carbon VISION Goal -อบรม กลุ่มเป้าหมาย -เผยแพร่วิชาการ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ให้คำปรึกษาแนะนำ -พัฒนา CF -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -อบรม CF -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan. -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ใช้ CF ประเมิน -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ประเมินความสำเร็จ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) ส่งเสริมให้ภาค สธ. แสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย GHG เน้นกิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับกิจกรรมอื่นๆ (ได้แก่กิจกรรม GREEN) เป็นเครื่องมือในการลด GHG หาปริมาณ Carbon Footprint เพื่อใช้เป็นดัชนีชีวัดความสำเร็จและเป็นเครื่องมือการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน

คำนวณหาจำนวน CF กิจกรรมทั้งหมด เมื่อเริ่มโครงการฯ เพื่อกำหนดปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน กำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีต่อไป

การรับรองเป็น ร.พ./สอ. ร่วมลดโลกร้อน สถานพยาบาลดำเนินกิจกรรม GREEN ครบ แจ้งศูนย์อนามัยประเมิน มอบป้ายลดโลกร้อน โดยศูนย์อนามัย

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การประกาศความสามารถในการลด CO2 สถานพยาบาลประเมิน carbon footprint เปรียบเทียบกับปีฐาน&แจ้งศูนย์อนามัยเพื่อรับรอง ศูนย์อนามัยมอบป้าย carbon footprint

สิ่งสนับสนุน 1. คู่มือการดำเนินงานโครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 2. คู่มือลดโลกร้อน 3. หนังสือเอกสารวิชาการ การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะไทย (HAS) 5. คู่มือสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน 6. แผ่นพับไส้เดือนดิน กำจัดขยะอินทรีย์

สิ่งสนับสนุน 7. แผ่นพับโครงการสาธารณสุขรวมใจลดโลกร้อน 8. แผ่นพับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและเอื้อต่อสุขภาพ 9. แผ่นพับการจัดการมูลฝอย 10. แผ่นพับน้ำหมักชีวภาพ 11.แผ่นพับก๊าซชีวภาพ 12. แผ่นพับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม น้อมนำพอเพียง 13. โปสเตอร์สาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 14. คู่มือประชาชน ร่วมลดโลกร้อนด้วยสองมือเรา

สวัสดี