โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 1 สิงหาคม 2554 โรงแรมโกลเด้นซิตี้ จ.ลพบุรี
รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ โครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โลกร้อน (สถานการณ์) รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ (Technology)
สถานการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในประเทศไทย (2552) (รวม = 214,000 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) 56.1% 24.1% 7.8% 6.6% 5.4% ที่มา: องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือกกระจก จำกัด (มหาชน)
ลดการเกิด Gas เรือนกระจก Global Warming Gas เรือนกระจก ( CO2 : CH4 = 21: 1 ) ลดการเกิด Gas เรือนกระจก CH4 พลังงานทดแทน ของเสีย ใช้ประโยชน์
แนวคิดการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ น้ำเสีย การใช้ประโยชน์จากน้ำเสีย อุจจาระ พลังงาน- ปุ๋ย ปัสสาวะ ปุ๋ย ของเสีย ขยะเปียก พลังงาน-ปุ๋ย Sanitation Technology ขยะแห้ง การกลับมาใช้ใหม่ มูลสัตว์ พลังงาน- ปุ๋ย ขยะอันตราย กำจัดอย่างถูกวิธี
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขดำเนินงานลดโลกร้อน ภายใต้ GREEN & CLEAN 2 เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นแบบอย่างการดำเนินการลดโลกร้อน 3 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคลากรในเรื่องโลกร้อนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
พื้นที่เป้าหมาย สถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลในสังกัดกรมวิชาการ
เป้าหมายความสำเร็จ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล ทุกแห่ง ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่ง โรงพยาบาล อำเภอละ 1 แห่ง สถานีอนามัย โรงพยาบาล 84 แห่ง (ศูนย์อนามัย 12 ศูนย์ โรงพยาบาล 72 แห่ง) สถานีอนามัย 84 แห่ง
เป้าหมายกิจกรรม(Green) garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล
rest room การจัดการส้วมให้ได้มาตรฐาน HAS
energy ประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทนจากชีวภาพ
environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง
C L A E N Communication การสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความเข้าใจ Leader สร้างบทบาทนำ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน Effectiveness ให้บังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ Activity สร้างกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกอย่างมีส่วนร่วม Networking ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน กลยุทธ์หลัก Clean C L A E N
C : Communication
L : Leadership
E : Effectiveness
A : Activities
N : Networking
ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน GREEN CLEAN HOSPITAL SuSan Strategy Setting ชุมชน อสม & Net work ทำอะไร ทำอย่างไร ทำที่ไหน การขยายผล ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน
ตัวอย่างกิจกรรม
ลดขยะด้วยการทำ BIOGAS
ลดการใช้พลังงาน กับ ราวตากผ้าอัจฉริยะ
น้ำหมักชีวภาพประโยชน์ขยะอินทรีย์
กำจัดขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน
ธนาคารขยะสร้างรายได้
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ปี 2554 GREEN กิจกรรมสร้างจิตสำนึก เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยใช้ CF เป้าหมาย -Zero Waste -Zero Emission -Zero Carbon เริ่ม พัฒนา วิสัยทัศน์
เป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2554 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข อำเภอละ 1 แห่ง รพสต. หรือ PCU หรือ สอ. อำเภอละ 1 แห่ง “เข้าร่วมโครงการฯ และดำเนินกิจกรรมครบ GREEN”
แนวทางการพัฒนาโครงการฯ สมัครร่วมโครงการ ดำเนินกิจกรรม GREEN รพ.ร่วมลดโลกร้อน เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพโดยใช้ Carbon Footprint รพ.ลดโลกร้อน Zero Waste Zero Emission Zero Carbon VISION Goal -อบรม กลุ่มเป้าหมาย -เผยแพร่วิชาการ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ให้คำปรึกษาแนะนำ -พัฒนา CF -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -อบรม CF -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan. -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ใช้ CF ประเมิน -นิเทศ ติดตาม -พัฒนา Susan -พัฒนาศูนย์เรียนรู้ -ประเมินความสำเร็จ -พัฒนาศูนย์เรียนรู้
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) ส่งเสริมให้ภาค สธ. แสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย GHG เน้นกิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับกิจกรรมอื่นๆ (ได้แก่กิจกรรม GREEN) เป็นเครื่องมือในการลด GHG หาปริมาณ Carbon Footprint เพื่อใช้เป็นดัชนีชีวัดความสำเร็จและเป็นเครื่องมือการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
คำนวณหาจำนวน CF กิจกรรมทั้งหมด เมื่อเริ่มโครงการฯ เพื่อกำหนดปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน กำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีต่อไป
การรับรองเป็น ร.พ./สอ. ร่วมลดโลกร้อน สถานพยาบาลดำเนินกิจกรรม GREEN ครบ แจ้งศูนย์อนามัยประเมิน มอบป้ายลดโลกร้อน โดยศูนย์อนามัย
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การประกาศความสามารถในการลด CO2 สถานพยาบาลประเมิน carbon footprint เปรียบเทียบกับปีฐาน&แจ้งศูนย์อนามัยเพื่อรับรอง ศูนย์อนามัยมอบป้าย carbon footprint
สิ่งสนับสนุน 1. คู่มือการดำเนินงานโครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 2. คู่มือลดโลกร้อน 3. หนังสือเอกสารวิชาการ การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะไทย (HAS) 5. คู่มือสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน 6. แผ่นพับไส้เดือนดิน กำจัดขยะอินทรีย์
สิ่งสนับสนุน 7. แผ่นพับโครงการสาธารณสุขรวมใจลดโลกร้อน 8. แผ่นพับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและเอื้อต่อสุขภาพ 9. แผ่นพับการจัดการมูลฝอย 10. แผ่นพับน้ำหมักชีวภาพ 11.แผ่นพับก๊าซชีวภาพ 12. แผ่นพับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม น้อมนำพอเพียง 13. โปสเตอร์สาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน 14. คู่มือประชาชน ร่วมลดโลกร้อนด้วยสองมือเรา
สวัสดี