สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
อัตราการเสียชีวิตวัยรุ่น ทั้งเพศหญิงและชาย อายุ10 – 14 ปี
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
หลักสำคัญ 5 ประการ 1.ความรู้สึกปลอดภัย 2.ความรู้สึกสงบ 3.การตระหนักรู้ถึงศักยภาพ 4.การประสานรวมพลังของชุมชน 5.การมีความหวัง.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
เด็กท้อง … จัดการ เชิงบวกได้. ข้อเสนอแนะต่อการจัดการ กรณีเด็กท้องให้เรียนต่อ การระดมความเห็นจากวงน้ำชา ๑๓ - ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
การสร้างวินัยเชิงบวก
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต สสส.

ปัจจัยความสำเร็จงานเยาวชน เสี่ยงไม่เท่ากัน ทักษะชีวิต (life skills, resilience, sex education) เยาวชนมีส่วนร่วม สร้างค่านิยมและความคาดหวังที่ถูกต้องต่อกัน (พื้นที่สำหรับเยาวชน) ปรับปรุงความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ (โดยเฉพาะกับพ่อแม่ และผู้ใหญ่ในชุมชน-โรงเรียน) ข้อมูลและบริการ ปัจจัยความสำเร็จ จากโครงการเยาวชนทั่วโลก (UNICEF)

ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หลักฐานสนับสนุนชัดเจน เพศศึกษาในโรงเรียน เชื่อมโยงบริการคุมกำเนิด 2. ศูนย์เยาวชน ครอบครัว ในชุมชน 3. โปรแกรมพัฒนาเยาวชน (ทักษะชีวิต ทักษะอารมณ์สังคม) 4. บริการเชิงรุกสู่ครอบครัวเยาวชน From : National Health Service Teenage pregnancy and parenthood: a review of reviews Evidence briefing Catherine Swann, Kate Bowe, Geraldine McCormick and Michael Kosmin February 2003

ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ● หลักฐานสนับสนุนพอควร 1. พัฒนาบริการคุมกำเนิด 2. บริการสำหรับเยาวชน ทั้งชายและหญิง 3. เน้นเยาวชนกลุ่มเสี่ยง พัฒนาทักษะสัมพันธภาพ 4. ตรวจสอบว่า กิจกรรมและบริการเข้าถึงได้ โดยเยาวชน 5. คัดเลือกบุคลากรที่ใส่ในงานเยาวชน 6. ทำงานร่วมกับผู้นำความคิดของเยาวชน และใช้อิทธิพลของกลุ่มเพื่อน 7. สนับสนุนวัฒนธรรมการพูดคุยเรื่องเพศ การคุมกำเนิด

แนวทางขององค์การอนามัยโลก สนับสนุนให้แต่งงานเมื่ออายุมากขึ้น ช่วยเหลือเด็กกลุ่มด้อยโอกาส (เนื่องจากเป็นกลุ่มเสี่ยง) เพศศึกษา บริการวางแผนครอบครัว (contraceptive) สำหรับวัยรุ่น (รวมการทำแท้งอย่างปลอดภัย) (จาก Adolescent Pregnancy: Issues in Adolescent Health and Development, WHO 2004)

มาตรการสำคัญ ศึกษา สาธารณสุข ชุมชน ท้องถิ่น พื้นที่เยาวชน เวทีพ่อแม่ พัฒนานักเรียน ทักษะชีวิต/เพศศึกษา เวทีเรียนรู้สำหรับพ่อแม่ คัดกรองและส่งต่อ พัฒนาเยาวชน เวทีเรียนรู้สำหรับพ่อแม่ บริการเชิงรุกที่เป็นมิตร

ผลการติดตามประเมินผลของสำนักตรวจฯ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2555 ขาดความมีส่วนร่วม ต่างคนต่างทำ ทำเป็นโครงการ ไม่ต่อเนื่อง ขาดแผนระดับจังหวัด ครูขาดความมั่นใจเรื่องเพศศึกษา ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ขาดทัศนคติที่เอื้อต่อการแก้ปัญหา

เครื่องมือพัฒนาเยาวชนและพ่อแม่ “คุยกับลูกวัยรุ่น” ละคร 5 ตอน “(กล้า) คุยกับลูกเรื่องเพศ” ละคร 4 ตอน “พ่อแม่เลี้ยงบวก” สื่อเสียงละคร 2 นาที “เทคนิคเลี้ยงลูกวัยประถม “เติมเต็มความเข้มแข็งทางใจ” ละครสั้น 16 ตอนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา “การ์ตูนทักษะชีวิต” 12 ตอน สำหรับนักเรียนประถม 1-3 ทุกเครื่องมือออกแบบให้ใช้งานง่าย ไม่ต้องอาศัยการอบรมเพื่อการใช้งาน วิทยากรทำหน้าที่ดูแลกระบวนการเรียนรู้ตามขั้นตอนของสื่อ

บทเรียนการจัดพื้นที่นอกเวลาสำหรับเยาวชน จัดสถานที่เพื่อการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน สนับสนุนบทบาทของผู้นำเยาวชน คำนึงถึงการสืบทอดผู้นำ เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เลือกทำกิจกรรมหลากหลายตามความสนใจ ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เช่น ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน พระสงฆ์ อปท.

บทเรียนการจัดพื้นที่นอกเวลาสำหรับเยาวชน คำนึงถึงความยั่งยืนในการดำเนินงาน กิจกรรมสร้างรายได้ช่วยให้เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ รู้จักพึ่งตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนทุกกลุ่มเข้าร่วม โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ควรเชิญผู้สูงอายุที่มีความถนัดด้านต่างๆ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์

เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว วัยรุ่น พ่อแม่ ได้ทบทวนตัวเอง เกิดความรู้สึกที่ดี เป้าหมายชัดขึ้น มองโลกแง่ดี เห็นศักยภาพตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีในกลุ่ม เข้าใจและยอมรับผู้อื่น รู้สึกดีและเคารพพ่อแม่มากขึ้น กล้าเปิดเผยกับผู้ปกครอง มีกำลังใจ (ไม่คิดฆ่าตัวตาย) มีทัศนคติที่ดีต่อกัน เข้าใจการเปลี่ยนแปลงในเด็ก สื่อสารทางบวก มีเวลาให้กันมากขึ้น คำนึงถึงความรู้สึกลูก มีสติมากขึ้น ยอมรับในความผิดพลาดของตน

เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว ชุมชน จากหลากหลายกิจกรรม ก่อให้เกิด แนวร่วมและเครือข่ายในชุมชน วัยรุ่นมีความเสี่ยงน้อยลง การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมน้อยลง