รายงานการระบาดศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ประเด็นการตรวจติดตาม
การปรับเปลี่ยนประมาณการใช้ยา และการคืนยา (ปรับ FM3)
ขั้นตอนง่ายๆ ในการ เข้าใช้บริการ GPF Web Service สำหรับสมาชิก กบข.
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการเข้าใช้บริการ
การใช้งานโปรแกรม 7 สิงหาคม 2555.
สรุปการถอดบทเรียนของ Smart Officer ต้นแบบ
บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
Data On Web 2552 ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ. ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
การใช้เครื่อง PDA ในการปฏิบัติงาน
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี ๒๕๕๗
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
 ใช้กำกับการดำเนินงาน  กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูล  รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล  ใช้ติดตามสถานการณ์ความผิดปกติร่วมกัน ระหว่างเครือข่าย.
ระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
วิธีการรายงาน โปรแกรมระบบรายงานแปลงพยากรณ์ และเตือนการระบาดศัตรูพืช
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ชี้แจงขั้นตอนการทำประชาคม / การออกใบรับรอง และแนวทางการแก้ไขปัญหา ระบบการรับขึ้นทะเบียนการปลูกข้าว 3 มีนาคม 2553.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
การขึ้นทะเบียน ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจปี 2555/56
ขั้นตอนวิธีเก็บพิกัดโรคยางพารา
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
การบันทึกแผนและผลการปฏิบัติงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2553
ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
ปัญหาการรายงานใน ระบบบริหารจัดการ งบประมาณ กรมควบคุมโรค ปี 2550 เอกสารประกอบการประชุม การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และการใช้จ่ายงบประมาณปี 2550 กรมควบคุมโรค.

การใช้โปรแกรมบริการประชาชน
แนวคิดการดำเนินงานระบบ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ขั้นตอนการ สมัครเมลล์ * สิ่งที่ต้องจำ ห้าม ลืม 1.ID หรือชื่อผู้ใช้ 2. รหัสผ่าน 3. คำตอบที่ท่านตอบ คำถามที่เลือก.
การบันทึกข้อมูลจังหวัดกระจาย ลงพื้นที่ ( ตำบล / อำเภอ ) จัดทำโดย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนัก งบประมาณ 22ตุลาคม2552.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
รายงานการระบาดศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการระบาดศัตรูพืช สำคัญ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หนอนหัวดำมะพร้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แมลงดำหนามมะพร้าว ส่วนบริหารศัตรูพืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

ลักษณะรายงาน เป็นรายงานการระบาดเฉพาะกิจของ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง เพลี้ยกระโดด สีน้ำตาล หนอนหัวดำมะพร้าว และแมลงดำหนามมะพร้าว ต้องรายงานทุกสัปดาห์ ก่อนเวลา 12.30 น. ของวันพุธ การหยุดรายงานโดยที่ยังมีพื้นที่ระบาดในสัปดาห์ก่อน จะถือว่าขาดส่งรายงานระบบจะนำข้อมูลของสัปดาห์ก่อนหน้ามาใส่แทนโดยปริยาย โดยจะถูกบันทึกว่าเป็น record ที่ขาดส่งรายงาน และจังหวัด/อำเภอ ต้องรับผิดชอบต่อข้อมูลที่ระบบนำมาใส่แทนนั้นด้วยเช่นกัน ข้อมูลการระบาด และการขาดส่งรายงาน จะถูกประมวลผล และนำเสนอต่อ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรทุกสัปดาห์ และจะถูกเก็บในฐานข้อมูลโดยปริยาย

ขั้นตอนและวิธีรายงาน ตำบลดำเนินการตรวจสอบและประเมินพื้นที่ระบาดโดยวิธี RRA แล้วแจ้งอำเภอ อำเภอ บันทึกข้อมูลของทุกตำบลเข้าระบบในคราวเดียวกัน ระหว่างวันจันทร์ จนถึงก่อน 12.30 น.ของวันพุธ จังหวัด ตรวจสอบความถูกต้อง / แก้ไข / ทวงถาม ข้อมูลของอำเภอ และสามารถบันทึกข้อมูลแทนอำเภอได้ ระหว่างวันจันทร์จนถึงก่อน 12.30 น.ของวันพุธ เช่นเดียวกัน ดังนั้นหากมีการแก้ไขเพิ่มเติม ให้บันทึกข้อมูลให้ทันก่อนเวลา 12.30 น. ของวันพุธ หลัง 12.30 น. ของวันพุธ ระบบจะปิด ไม่ให้มีการบันทึกแก้ไขใดๆ ได้อีก และจะเปิดรับข้อมูลของสัปดาห์ใหม่ ในวันจันทร์ถัดไป หากไม่มีพื้นที่ระบาด ให้บันทึกเป็น 0 (เลขศูนย์) ทั้งพื้นที่และจำนวนเกษตรกร ห้ามเว้นว่าง เพราะระบบจะนำข้อมูลของสัปดาห์ก่อนหน้ามาใส่แทนโดยปริยาย และจะถูกบันทึกว่าเป็น record ที่ขาดส่งรายงาน ระบบไม่เปิดให้มีบันทึกแก้ไขข้อมูลสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ จึงขอให้จังหวัดตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วน ให้ทันเวลาก่อน 12.30 น. ของวันพุธ เพราะหลังจากนี้ระบบจะปิดรับข้อมูล

ใส่ User name และ password คลิก Login http://forecast.doae.go.th/pia/home ใส่ User name และ password คลิก Login

อ่านและทำความเข้าใจ

เลือกพืชที่ต้องการรายงาน

แถบเมนู ชื่อหน่วยงานบันทึกข้อมูล เมนูออกจากระบบ ชื่อแบบรายงาน ช่วงเวลารายงาน ตัวรายงาน แถบบันทึก/ยกเลิก ข้อมูล

แบบรายงานการระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน พบเพลี้ยแป้งสีชมพูร้อยละ......... คิดเทียบกับพื้นที่ระบาดทั้งหมด ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

แบบรายงานการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน บันทึกวัยของ BPH ที่พบ และโรคข้าวที่พบ ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

แบบรายงานการระบาดหนอนหัวดำมะพร้าว บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน พื้นที่เฝ้าระวัง คือ พื้นที่ที่ควบคุม โดยวิธีตัดทางใบแล้ว ระบุพื้นที่และจำนวนเกษตรกรที่ ซ้อนทับกับพื้นที่การระบาด ของแมลงดำหนาม ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

แบบรายงานการระบาดแมลงดำหนามมะพร้าว บันทึกการระบาดของศัตรูพืช ลงในแบบรายงาน ระบุพื้นที่และจำนวนเกษตรกรที่ ซ้อนทับกับพื้นที่การระบาด ของหนอนหัวดำ ระบุสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ การระบาดเพิ่มขึ้น/ลดลง คลิกบันทึก

เลือกชนิดของศัตรูมะพร้าว ในพื้นที่ที่มีการระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าว และ แมลงดำหนามมะพร้าว เมื่อบันทึกรายงานการระบาดแล้วให้ดำเนินการบันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ เลือกชนิดของศัตรูมะพร้าว

รายงานได้เมื่อบันทึกพื้นที่ระบาด แบบรายงานการให้ความช่วยเหลือ รายงานได้เมื่อบันทึกพื้นที่ระบาด เรียบร้อยแล้ว บันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ ลงในแบบรายงาน ระบุแหล่งให้การสนับสนุน คลิกบันทึก

การพิมพ์แบบรายงาน

การประมวลผลข้อมูล

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จังหวัดและอำเภอควรซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการรายงานให้ตรงกัน จังหวัดสามารถเห็นข้อมูลได้ถึงระดับตำบล และสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้เอง หากตรวจสอบแล้วพบว่าข้อมูลผิดพลาด จังหวัดควรตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขให้เรียบร้อยก่อน 12.30 น. ของวันพุธ อย่าลืม จังหวัดและอำเภอต้องรับผิดชอบข้อมูลร่วมกัน