แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

(District Health System)
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การศึกษารายกรณี.
วิธีการทางสุขศึกษา.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม. และแกนนำชุมชน ธีระ ศิริสมุด, teera.s@hitap.net, 086-0907925 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP), www.hitap.net 16 กันยายน 2556

แนวคิดการพัฒนาคู่มือฯ เน้นให้เจ้าหน้าที่รัฐ หน่วยเล็กที่สุด แต่อยู่ใกล้ชาวบ้านหรือผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่สุด รู้จริง ทำได้จริง เพื่อถ่ายทอดสู่ญาติ/คนใกล้ชิด/ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตต่อไปได้ "การฆ่าตัวตาย ปัญหาใหญ่ที่คุณมีส่วนช่วยได้" เน้นการประเมินหรือเฝ้าระวังผู้มีกลุ่มเสี่ยง/ประชาชน โดยเน้นให้ "สังเกตและเข้าใจสัญญาณเตือน" ซึ่งเคยโปรยคำว่า "ปัญหาสุขภาพทางใจ จะแก้ไขก็ต้องใช้ใจมอง” เมื่อแยกกลุ่มเสี่ยงโดย "สังเกตสัญาณเตือน“ จะมีวิธีการช่วยเหลือ รักษา ส่งเสริมสนับสนุน ในแต่ละกลุ่มที่จำเพาะ ต่อไป เน้นว่ากลุ่มเป้าหมายไม่ได้ทำเพียงลำพัง แต่ยังมีเจ้าหน้าที่ รพ.สต. รพ. เครือข่าย ภาคีอื่น ช่วยด้วย

โครงสร้างเนื้อหา ความสำคัญของปัญหาการฆ่าตัวตาย สาเหตุของปัญหาการฆ่าตัวตาย แนวทางการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตาย ประเมินกลุ่มเสี่ยง การรับรู้ สังเกตและทราบถึงสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย การช่วยเหลือผู้มีความเสี่ยงต่อการตัดสินใจฆ่าตัวตาย การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและการเสริมความเข้มแข็งด้านจิตใจกับครอบครัวและชุมชน แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพจิตและการฆ่าตัวตาย

แนวทางการใช้คู่มือในพื้นที่ควรเป็นอย่างไร ข้อจำกัดของการใช้คู่มือ และทางแก้ไข (จากประสบการณ์ในพื้นที่) แนวทางการนำไปใช้ ควรมีการจัดอบรมหรือไม่ อย่างไร ทำอย่างไรให้ผู้ใช้เห็นความสำคัญของคู่มือ (ต้องเริ่มจากตระหนักในปัญหา) สร้างแรงจูงใจให้เกิดการใช้คู่มืออย่างไร

ตัวอย่างกลยุทธ์การนำคู่มือด้านสาธารณสุขไปใช้ แน่ใจว่าคู่มือนั้นแจกจ่ายไปยังกลุ่มเป้าหมาย สร้างการมีส่วนร่วมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมในกระบวนการ ทั้งแกนนำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำทางความคิด รวมถึงชาวบ้าน สร้างบรรยายกาศให้เกิดการสนับสนุนการใช้คู่มือ (มีมาตรการอื่นๆ ควบคู่ไปด้วย) พัฒนาเครื่องมือ/มาตรการอื่นๆ มาสนับสนุน (เช่น สมุดบันทึก กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น) แสดงให้เห็นประโยชน์ที่จะได้รับทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และประเทศ มีการประเมินติดตาม มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้ใช้ พัฒนาอุปกรณ์/เครื่องมือที่มาสนับสนุนการสร้างความตระหนักต่อคู่มือ และกระตุ้นให้เกิดการนำไปใช้ http://www.nice.org.uk/usingguidance/niceimplementationprogramme/nice_implementation_programme.jsp

ตัวอย่างกิจกรรมเสริมคู่มือในพื้นที่ศึกษา (นำคู่มือไปต่อยอด) จัดอบรมให้ความรู้ให้แก่ผู้ประกาศหอกระจายข่าว ดีเจวิทยุชุมชน พระสงฆ์และศิษยาภิบาล (ครูสอนศาสนาคริสต์) สร้างแนวทางที่เหมาะสมกับพื้นที่ในการให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านผู้ประกาศหอกระจายข่าว ดีเจวิทยุชุมชนแนวทางการให้ความรู้โดยพระสงฆ์ในพิธีกรรมต่างๆและแนวทางการให้ความรู้โดยศิษยาภิบาล ผลิตสื่อภาษาท้องถิ่นสนับสนุนหอกระจายข่าว ติดตามประเมินผลการให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นทุก 2 เดือน