การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม 2556 .

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Service Plan สาขา NCD.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
สู้ “เบาหวาน – ความดัน” ด้วยจราจรชีวิตกับ 3 อ. พิชิตโรค
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
Point of care management Blood glucose meter
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม 2556 .

ขั้นตอนการดำเนินการ รวบรวมข้อมูล / ค้นหาปัญหา ทบทวนปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหา ดำเนินการแก้ไขปัญหา ติดตาม/ประเมินผล

ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลับรพ.สต. (ใกล้บ้านใกล้ใจ) ไม่สำเร็จ 1. ผู้ป่วยไม่มั่นใจในการให้บริการ - ไม่ได้รับการตรวจจากแพทย์ - กลัวได้ยาไม่มีคุณภาพ/ ได้รับยาไม่เหมือนกับยาที่ได้จาก โรงพยาบาล - ไม่มั่นใจการรักษาของเจ้าหน้าที่ในรพ.สต. ใกล้บ้าน - ผู้ป่วยกลัวว่าจะไม่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนประจำปี 2. ผู้ป่วยไม่ประทับใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ในรพ.สต. - การพูดจา / อัธยาศัย - ได้รับยาครั้งละ 2 สัปดาห์

3.การเดินทางไม่สะดวก 4.ค่ารักษาพยาบาล - อยู่ใกล้โรงพยาบาลมากกว่า - การเดินทางมาโรงพยาบาลสะดวกและปลอดภัยมากกว่าไป รพ.สต. - ไม่มีญาติไปส่งที่ รพ.สต.เพราะว่าญาติไปทำงานใกล้โรงพยาบาล 4.ค่ารักษาพยาบาล - ผู้ป่วยสิทธิ์จ่ายตรงไปรับการรักษาที่ รพ.สต. ต้องสำรองจ่ายค่า รักษาก่อน

ทบทวนปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน 1.ประชุมผู้รับผิดชอบงาน NCD ทั้งเครือข่าย 2.จัดตั้งคณะทำงาน NCD board ของเครือข่ายโรงพยาบาลท่ายาง 3.จัดประชุมวางแผนการทำงาน /KM /case conferance เดือนละครั้ง 4.จัดระบบการนัดผู้ป่วยให้เป็นรายตำบลเพื่อง่ายต่อการส่งตัวกลับ

5. เตรียมความพร้อมเรื่องการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติ ก่อนส่งกลับ รพ 5. เตรียมความพร้อมเรื่องการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติ ก่อนส่งกลับ รพ.สต. 6. คืนข้อมูลผู้ป่วยให้รพสต.ในพื้นที่ทราบและมารับผู้ป่วยกลับรพสต. ใกล้บ้าน สร้างความคุ้นเคยกัน 7.วางระบบเกณฑ์การส่งต่อไป รพ.สต. และจาก รพ.สต. ส่งกลับ รพ.ท่ายาง

เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วยไป รพ.สต. 1.ผู้ป่วยที่มีระดับ FBS น้อยกว่า 180 mg/dl BPน้อยกว่า 160/100 mmhg 2.ผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 3.ผู้ป่วยที่สะดวกและอยู่ใกล้ รพ.สต. 4.ผู้ป่วยที่มีสิทธิ์การรักษาทุกสิทธิ์ยกเว้นจ่ายตรง 5.ผู้ป่วยเบาหวานที่รักษาโดยการใช้ยารับประทาน

เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วยกลับโรงพยาบาล 1.ผู้ป่วยที่มีระดับ FBS มากกว่า 200 mg/dl ติดต่อกัน 2 เดือน 2.ผู้ป่วยที่มีระดับความดันโลหิตสูงมากกว่า 160/100 mmhg ติดต่อกัน 2 เดือน 3.ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลรายใหม่ได้รับการรักษา 3 วันแล้ว อาการไม่ทุเลา 4.ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 5.ผู้ป่วยเบาหวานที่จำเป็นต้องรักษาโดยใช้ยาฉีด

3. ดำเนินการแก้ไขปัญหา พัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ 3. ดำเนินการแก้ไขปัญหา พัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ.สต. 1.จัดทีมแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพ ออกตรวจใน รพ.สต. นำร่องเดือนละครั้ง จำนวน 6 รพ.สต. 2.จัดทีมแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพ ออกตรวจใน รพ.สต. ทุก 3 , 6 เดือน จำนวน 14 รพ.สต. 3.จัดกิจกรรมตรวจภาวะแทรกซ้อนประจำปี เชิงรุก ใน รพ.สต. ทุกแห่ง จำนวน 20 รพ.สต. โดยทีม โรงพยาบาลร่วมกับรพ.สต. 4.จัดประชุมวิชาการเพื่อเสริมสร้างความรู้ความชำนาญในการให้การรักษาแก่เจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. เดือนละ 1 ครั้ง

5. จัดโครงการพี่เยี่ยมน้องแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน 6 5.จัดโครงการพี่เยี่ยมน้องแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน 6.จัดให้มีการใช้ยาเหมือนกับของโรงพยาบาล(ตัวยาเดียวกัน สีเดียว รูปแบบ เดียวกัน) 7.มีระบบฐานข้อมูลสามารถเชื่อมโยงการรักษาได้ทั้งเครือข่าย

4. การติดตาม/ประเมินผล 1.อัตราการส่งผู้ป่วยกลับมา โรงพยาบาล ร้อยละ 3 2.อัตราการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาที่ รพ.สต. ร้อยละ 45

สวัสดี