๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
นโยบายที่ 1 : ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นโยบายที่ 1 : ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง    ดูแลลูกหลานประชาชนเหมือนลูกหลานของเรา   จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทั้งภาคเมืองและชนบท.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
1. ความไม่ปกติและความปกติ ความปกติความปกติ ไม่ปกติไม่ปกติ สภาพที่เป็นตามที่เคยเป็น, ทำ อยู่เป็นประจำเป็นปกติ ทำตามที่คนอื่นทำ / เป็น, ระเบียบวิธีการตามปกติ
Evaluation of Thailand Master Plan
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ๒. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู ๓. เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรูปการเรียน ๔. พัฒนาคุณภาพอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้ระดับสากล

๕. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานมากกว่าการขยายเชิงปริมาณ ๖. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึ้น ๗. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ๘. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนใต้

๑. พัฒนาระบบสะสมผลการเรียน และ e-Exam เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนที่พลาดโอกาสการศึกษาในระบบปกติ โดยการจัดการศึกษานอกระบบอย่างมีคุณภาพ โดยนำระบบสะสมผลการเรียนตามนโยบายรัฐบาล มาใช้ และพัฒนาระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) ๒. เรียนอาชีวฯ กับ กศน. เพิ่มโอกาสการเรียนอาชีวศึกษา โดยจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยร่วมมือกับสถาบันอาชีวศึกษา และสถานประกอบการในลักษณะไตรภาคี

๓. ส่งเสริมการอ่านและเพิ่มอัตราการรู้หนังสือของ คนไทยให้ได้ ๑๐๐% โดยเร่งสำรวจหาผู้ไม่รู้หนังสือด้วยวิธีการทดสอบระดับการรู้หนังสือ แล้วจัดการให้ได้เรียนกับครู กศน.จนอ่านออกเขียนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งขยายห้องสมุดประชาชนประจำหมู่บ้านให้ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ ๔. พัฒนาศูนย์ กศน.ตำบล สู่ความทันสมัย มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาอาชีพให้กับประชาชนในชุมชน

๕. เพิ่มโอกาสแก่ประชาชนทุกคน จัดการฝึกอบรมเพื่อเน้นการให้ความรู้และทักษะแก่ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และกลุ่มเด็กวัยเรียนที่หลุดออกจากระบบการศึกษาในระบบ โดยพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น และหลักสูตรแบบชุดวิชา (Module) ที่เข้าถึงประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพความต้องการของแต่ละกลุ่ม

๖. เร่งให้มีการออก พ.ร.บ.สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อให้มีหน่วยงานอิสระดูแลด้านการใช้ ICT เพื่อการศึกษาทั้งระบบ และมีกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีตามที่กฎหมายกำหนด โดยระยะเร่งด่วน ให้มีการทำแผนแม่บท ขอรับเงินสนับสนุนจาก กสทช. โดยเร็ว รวมทั้งส่งเสริมการใช้ ICT เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาในระบบ Free TV ให้เป็นกลไกสำหรับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ส่งเสริมการอ่านและเพิ่มอัตราการรู้หนังสือของคนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ ๑.๑ เร่งพัฒนาเครื่องมือสำรวจและประเมินระดับการ รู้หนังสือไทย ๑.๒ เร่งจัดการศึกษาให้ผู้ไม่รู้หนังสือตามผลการสำรวจและประเมินระดับ ๑.๓ เร่งพัฒนาสมรรถนะของครู กศน.และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดกิจกรรม ๑.๔ ให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ

๒. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกกลุ่ม เป้าหมาย โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒.๑ พัฒนาระบบการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๒.๒ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

๒.๓ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อการยกระดับการศึกษาประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย

ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ๓.๑ เร่งพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน ให้มีการเรียนและการทำกิจกรรมวิชาการเพื่อเสริมและเติมเต็มความรู้เพิ่มขึ้น ๓.๒ เร่งพัฒนาเกณฑ์สมรรถนะของครู กศน. และพัฒนาครู กศน. ให้มีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด ๓.๓ พัฒนาครู กศน. ให้เป็นทั้งผู้สอนและผู้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ กศน.ที่สามารถ เลือกใช้สื่อเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและบูรณาการวิธีเรียนอย่างหลากหลาย

๓.๔ เร่งจัดหา รวบรวม และพัฒนาสื่อเสริมการเรียนรู้ ในรูปแบบที่หลากหลาย ๓.๕ พัฒนาและบริหารจัดการระบบ TV กศน. /โทรทัศน์ช่องติวเตอร์ กศน. วิทยุ และอินเทอร์เน็ต ๓.๖ พัฒนาระบบสะสมผลการเรียนและระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) ให้มีมาตรฐาน ๓.๗ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างความเข้าใจและร่วมมือกันในการจัดการศึกษา

ยกระดับการฝึกอบรมอาชีพและ“ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน”เพื่อผลิตกำลังคนที่มีศักยภาพในการแข่งขัน รองรับการเข้าสู่ระบบการค้าเสรีของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๔.๑ พัฒนาคุณภาพการฝึกอบรมอาชีพในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชน ๑) พัฒนาบุคลากร กศน. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการบริหารจัดการธุรกิจ ๒) พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้และการฝึกอบรม ที่เน้นการปฏิบัติจริง

๓) พัฒนาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้เป็นศูนย์ฝึกอบรม สาธิตแสดง จำหน่าย และกระจายสินค้าและบริการของชุมชน ๔) ประสานการดำเนินงานกับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนและแหล่งเรียนรู้ ของหน่วยงานและสถานศึกษาอื่นเพื่อเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายการฝึกและสร้างอาชีพ ๕) เร่งรัดพัฒนาระบบแนะแนว ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ ๖) กำกับ ติดตาม ประเมินผล วิจัย และพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างเป็นระบบ

๔.๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาสายอาชีพเพื่อการเข้าสู่การอาชีวศึกษา ๑) พัฒนาและจัดทำหลักสูตรการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำที่เป็นมาตรฐาน ๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการนำความรู้และประสบการณ์จากการเรียนรู้อาชีพ ไปเทียบระดับการศึกษา และเทียบโอนความรู้สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือเข้าสู่การศึกษาสายอาชีวศึกษา ๓) ประสานความร่วมมือกับสถาบันอาชีวศึกษา และสถานประกอบการในลักษณะไตรภาคี

๔) พัฒนาระบบแนะแนวการศึกษาเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน/นักศึกษาที่ออกกลางคันและนักเรียน/นักศึกษาที่ไม่ประสงค์จะศึกษาต่อ และประชาชนทั่วไป เห็นช่องทางและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อระดับอาชีวศึกษา ๕) กำกับ ติดตาม ประเมินผล วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาสายอาชีพ

การจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา กศน.อำเภอ/เขต ๕.๑ เร่งสำรวจความต้องการด้านการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ๕.๒ เร่งพัฒนาและจัดทำหลักสูตร สื่อ แบบเรียนการศึกษาต่อเนื่องด้านภาษาต่างประเทศ ๕.๓ จัดให้มีศูนย์อาเซียนศึกษา อำเภอ/เขต ละ ๑ แห่ง ๕.๔ ประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อร่วมดำเนินการยกระดับความสามารถด้านภาษาต่างประเทศให้กับกลุ่มเป้าหมาย

๕.๕ จัดให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องด้านภาษาต่างประเทศ

นโยบายด้านการศึกษานอกระบบ ๑.๑ จัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.๒ ยกระดับการศึกษาประชาชนให้จบการศึกษาในระดับสูงสุดของการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ ๑.๓ เปิดโลก กศน. สู่ กศน.อินเตอร์ เพื่อประชาคมอาเซียน ๑.๔ การศึกษาต่อเนื่อง ๑.๕ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน

๑.๖ การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑.๗ การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๑.๘ การศึกษาทางไกล

นโยบายด้านการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๑ การส่งเสริมการอ่าน ๒.๒ ห้องสมุดประชาชน ๒.๓ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

นโยบายด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน ๓.๑ การพัฒนา กศน.ตำบล/แขวง ให้เป็นศูนย์กลางการสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา ๓.๒ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๓.๓ เสริมสร้างบ้านหนังสืออัจฉริยะและพัฒนานิสัย รักการอ่านของประชาชน ๓.๔ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามี ส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ๓.๕ อาสาสมัคร กศน. ๓.๖ การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในชุมชน

นโยบายด้านการสนับสนุนโครงการพิเศษ ๔.๑ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๔.๒ โครงการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงชายแดนของ ศฝช. ๔.๓ การส่งเสริมและจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ

นโยบายด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๕.๑ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ๕.๒ พัฒนาสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ๕.๓ พัฒนารายการวิทยุเพื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

๕.๔ เสริมสร้างโอกาสให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายมีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ ๕.๕ ผลิตและเผยแพร่สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายเพื่อคนพิการ ๕.๖ พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายให้สามารถผลิต เผยแพร่ ร่วมพัฒนา และใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๕.๗ พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ได้หลายช่องทางทั้งอินเทอร์เน็ตและรูปแบบอื่นๆ ๕.๘ สำรวจ วิจัย และติดตามประเมินผลด้านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และนำผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง

นโยบายด้านการบริหารจัดการ ๖.๑ การพัฒนาบุคลากร ๖.๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอัตรากำลัง ๖.๓ การพัฒนาองค์ความรู้และฐานข้อมูล ๖.๔ การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล