RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
นวัตกรรม Joint feeding.
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy.
การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดขั้นตอน ลดการสูญเสียเวลา ในการ ตามใบนัดตรวจของผู้ป่วยใน 2. ลดเวลารอตรวจของผู้ป่วยใน.
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย เด็กโรคธาลัสซีเมีย จังหวัดอุดรธานี
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การชักและหอบ.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
โรคเบาหวาน ภ.
รายการครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ในโรงพยาบาลสนาม
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
วิเคราะห์อัตรากำลังสายงานรังสีเทคนิค
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Nipah virus.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
สาขาอุบัติเหตุ 27 กย 57.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
สิ่งคุกคามสุขภาพในโรงพยาบาล และปัญหาที่พบแต่ละแผนก
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา

บริการ 24 ชั่วโมง 12.00 น. - 13.00 น. พักเครื่องเอกซเรย์และเครื่องล้างฟิล์ม รับเฉพาะผู้ป่วยฉุกเฉิน

หน่วยงานทางรังสีวิทยา ประกอบด้วย งานรังสีวินิจฉัย (โรงพยาบาลพัทลุง) งานรังสีรักษา งานเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ขั้นตอนการเอกซเรย์ 1.ลงทะเบียนผู้ป่วย 2.พิมพ์soundexแลสติ๊กเกอร์ติดซองฟิล์ม 3.เอกซเรย์ 4.ล้างฟิล์ม 5.ตรวจสอบภาพเอกซเรย์และเขียนซองฟิล์ม 6.ส่งฟิล์มให้ผู้ป่วย

ประเภทการให้บริการทางรังสีวิทยา เอกซเรย์ทั่วไป (General x-ray) เอกซเรย์ตรวจพิเศษ (Special x-ray) เอกซเรย์เคลื่อนที่ (Portable x-ray) เอกซเรย์ฟัน (Dental x-ray) อัลตราซาวด์ (Ultrasound)

เอกซเรย์ทั่วไป หมายถึงการเอกซเรย์ธรรมดาทั่วๆไป เอกซเรย์ทั่วไป หมายถึงการเอกซเรย์ธรรมดาทั่วๆไป ตัวอย่างเช่น SKULL (ศีรษะ) CHEST (ปอด) ABDOMEN (ท้อง) HUMERUS (ต้นแขน) FOREARM (แขน) FEMURE (ต้นขา) LEG (ขา) C-SPINE (กระดูกคอ) T-SPINE (กระดูกสันหลัง) TL-SPINE LS-SPINE PELVIC (อุ้งเชิงกราน)

เอกซเรย์ตรวจพิเศษ หมายถึงใช้สารทึบรังสี(contrast media)ร่วมกับการเอกซเรย์ ประกอบด้วย การตรวจ IVP การตรวจ BARIUM ENEMA การตรวจ BARIUM SWALLOWING การตรวจ UPPER GI การตรวจ MYELOGRAM

สารทึบรังสี ( Contrast media ) หมายถึง สารที่ช่วยทำให้เห็นอวัยวะที่ต้องการตรวจเนื่องจาก อวัยวะเหล่านั้นไม่สามารถตรวจเห็นจากเอกซเรย์ธรรมดา วิธีการใช้ Contrast Media ( C.M. ) รับประทาน เช่น ตรวจ UPPER G.I. ฉีด เช่น ตรวจ IVP สวน เช่น ตรวจ BE

การตรวจ Intravenous pyelography ( I.V.P. ) หมายถึง การตรวจดูระบบขับถ่ายปัสสาวะ โดยวิธีการฉีดสารทึบรังสีร่วมกับเอกซเรย์

ข้อควรระวังในการตรวจ IVP 1.ไม่แพ้สารทึบรังสีหรือแพ้อาหารทะเล 2.ไม่เป็นโรคหอบหืด 3. ค่า Cr.ไม่สูงเกินที่กำหนด ( ปัจจุบัน 1.5 mg/dl )

เอกซเรย์เคลื่อนที่ ( Portable ) หมายถึง การไปเอกซเรย์ผู้ป่วยตามตึกต่างๆ

ลักษณะผู้ป่วยที่ต้องเอกซเรย์ ( Port. ) ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ผู้ป่วยโรคหัวใจและไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนัก(ICU)

ข้อเสนอแนะในการใช้เอกซเรย์เคลื่อนที่ ( เพื่อคุณภาพของภาพเอกซเรย์และยืดอายุการใช้งานของเครื่อง ) ผู้ป่วยรับใหม่ควรเอกซเรย์ที่ห้องฉุกเฉิน ก่อนเข้าตึก ผู้ป่วยคนเดียวที่ต้องเอกซเรย์หลายฟิล์มควรส่งไปเอกซเรย์ที่แผนกเอกซเรย์เพราะการเอกซเรย์หลายๆภาพต่อเนื่องกันอาจทำให้เครื่องเสียหายได้ ความคมชัดและรายละเอียดของภาพเอกซเรย์จากเครื่อง port น้อยกว่าภาพเอกซเรย์ที่ได้จากเครื่องใหญ่ที่แผนกเอกซเรย์

การออกเอกซเรย์เคลื่อนที่ รอบช้า 10.30 น. - 11.30 น. รอบบ่าย 14.30 น.- 15.30 น. ยกเว้นกรณีจำเป็นเร่งด่วนและผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน

เอกซเรย์ฟัน ( Dental x-ray ) ประกอบด้วย การเอกซเรย์ฟันแบบทั้งปาก (Panoramic) การเอกซเรย์ฟันแบบแยกเป็นซี่ๆ

การตรวจอัลตราซาวด์ ( Ultrasound ) หมายถึง การตรวจโดยวิธีการใช้คลื่นเสียงความถี่สูง

ประเภทการตรวจอัลตราซาวด์ U/S Whole Abdomen (NPO) U/S Upper Abdomen (NPO) U/S Brain U/S Pelvis (Full bladder) U/S Chest U/S Small part U/S Breast U/S color droppler

การป้องกันอันตรายจากรังสี RADIATION PROTECTION การป้องกันอันตรายจากรังสี

หลักการป้องกันอันตรายจากรังสี ประกอบด้วยปัจจัย 3 ประการ 1. Distance (ระยะทาง) 2. Time (เวลา) 3. Shielding ( เครื่องกำบัง )

ระยะทาง ( Distance ) ควรห่างจากเครื่องเอกซเรย์ อย่างน้อย 3 เมตร

ใช้เวลาอยู่ในบริเวณที่มีรังสีให้น้อยที่สุด เวลา ( Time ) ใช้เวลาอยู่ในบริเวณที่มีรังสีให้น้อยที่สุด

เครื่องกำบัง ( Shielding ) วัสดุที่สามารถกั้นรังสีได้ ตะกั่ว คอนกรีตหนาๆ

ผู้ป่วยมีครรภ์ อายุครรภ์ 1-3 เดือน ไม่ควรสัมผัสรังสีเลย อายุครรภ์ มากกว่า 3 เดือน สัมผัสรังสีได้เท่าที่จำเป็นจริงๆ