การพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ (Bio-Fuel)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
สหกรณ์ วาระแห่งชาติ ข้อเสนอปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์ คณะอนุกรรมการด้านปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์
ปาล์มน้ำมัน ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตปาล์มเป็นน้ำมันปาล์มดิบ
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
THE OIL BUSINESS PROCESS
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 ( )
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันแก๊สโซฮอล์ พ.ศ.2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน 2553.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2551
"น่าสนใจ มั้ยล่ะ! มารู้จักกันเลยดีกว่า"
Department for development of Thai Traditional and Alternative Medicine กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก.
การบริหารจัดการงบประมาณ ด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และครุภัณฑ์
โครงการปรับแต่ง เครื่องยนต์ ให้สามารถใช้แก๊ส โซฮอล์
นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
RDF/ MSW Industry for Thailand
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซินพื้นฐาน พ.ศ.2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน 2553.
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมันที่นำไปใช้เป็นวัตถุดิบ หรือส่วนประกอบในการผลิตในโรงอุตสาหกรรมน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน(ฉบับที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ (Bio-Fuel)

การพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวมวล (Bio-Fuel) นโยบายรัฐบาล - ผลกระทบจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2547 - รัฐบาลประกาศนโยบายการพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ - มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 เรื่องยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาด้านพลังงานของประเทศ ให้มีการใช้เชื้อเพลิงอื่นแทนน้ำมัน ประกอบด้วย: - CNG/NGV - แก๊สโซฮอล์ - ไบโอดีเซล

การพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวมวล (Bio-Fuel) (ต่อ) มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ วันที่ 7 เมษายน 2548 - จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ (กชช.) - ขอบเขตหน้าที่ - เสนอแนะนโยบายและแผนพัฒนาการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ ของประเทศ - กำกับดูแลด้านเชื้อเพลิงชีวภาพให้บรรลุผลตามเป้าหมายและ เกิดผลในทางปฏิบัติ

องค์ประกอบ กชช. - รองนายกรัฐมนตรี (นายพินิจ จารุสมบัติ) เป็นประธานกรรมการ (ปัจจุบันย้ายเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข) - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นรองประธานกรรมการ - อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เป็นฝ่ายเลขานุการ - ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ - มีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการรวมทั้งสิ้น 24 คน

การกำกับดูแล - แก๊สโซฮอล์ - ไบโอดีเซล - มอบหมายให้ กชช. เป็นผู้กำกับดูแลการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ เชื้อเพลิงชีวภาพ ประกอบด้วย - แก๊สโซฮอล์ - ไบโอดีเซล - ให้ยกเลิกคณะกรรมการเอทานอลแห่งชาติ และถ่ายโอนภารกิจ ทั้งหมดที่ได้ดำเนินในช่วงปี 2543-2548 ให้กับ กชช. ดำเนินการต่อ

แก๊สโซฮอล์ (Gasohol)

การพัฒนาและส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์ แก๊สโซฮอล์ (Gasohol): น้ำมันเบนซินที่มีส่วนผสมของเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 99.5% ในอัตราส่วน น้ำมันเบนซิน 9 ส่วน เอทานอล 1 ส่วน การผลิตเอทานอล: เกิดจากการแปรรูปพืชจำพวกแป้งและน้ำตาล เช่น มันสำปะหลัง อ้อย และกากน้ำตาล เป็นต้น ให้เป็นแอลกอฮอล์ จากนั้นนำไปกลั่นให้เป็น แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 99.5%

มติคณะรัฐมนตรี (19 เมษายน 2548) มติคณะรัฐมนตรี (19 เมษายน 2548) - ยกเลิกจำหน่ายน้ำมันเบนซินออกเทน 95 ในวันที่ 1 มกราคม 2550 - กำหนดเป้าหมายการใช้แก๊สโซฮอล์แทนน้ำมันเบนซินออกเทน 95 ร้อยละ 50 หรือ 4 ล้านลิตร/วัน ในสิ้นปี 2548 - เร่งขยายสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงที่จำหน่ายแก๊สโซฮอล์ ทั่วประเทศให้ได้ 4,000 แห่ง ในสิ้นปี 2548

การจัดหาเอทานอล - ปัจจุบันมีโรงงานเอทานอลได้รับใบอนุญาตแล้ว จำนวน 24 แห่ง กำลังการผลิตรวม 4.26 ล้านลิตร/วัน - โรงงานเอทานอล 5 แห่ง ดำเนินการผลิตแล้ว กำลังการผลิตรวม ประมาณ 0.525 ล้านลิตร/วัน - ปริมาณการผลิตรวม เพียงพอกับเป้าหมายการจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ ปริมาณ 4 ล้านลิตร/วัน ในสิ้นปี 2548

โรงงานเอทานอลที่เปิดดำเนินการแล้ว โรงงาน ที่ตั้ง วัตถุดิบ กำลังผลิต ผลิตจริง (ลิตร/วัน) (ลิตร/วัน) 1.พรวิไล อยุธยา กากน้ำตาล 25,000 25,000 2.ไทยแอลกอฮอล์ นครปฐม กากน้ำตาล 200,000 200,000 3.ไทยอะโกร สุพรรณบุรี กากน้ำตาล 150,000 130,000 4.ไทยง้วน ขอนแก่น มันสำปะหลัง 130,000 70,000 5.ขอนแก่นแอกอฮอล์ ขอนแก่น อ้อย/มัน 100,000 100,000 รวม 775,000 525,000 หมายเหตุ ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2549

ปริมาณการจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ (2544-2548) เดือน/ปี ปริมาณจำหน่าย (ล้านลิตร) แก๊สโซฮอล์ เฉลี่ย/วัน เป้าหมาย/วัน 2544 1.6 0.004 - 2545 0.5 0.001 - 2546 2.6 0.007 - 2547 59.6 0.163 - 2548 674.9 1.85 4 2549 419.7 3.50 4 แหล่งข้อมูล: กรมธุรกิจพลังงาน ณ เดือนมิถุนายน 2549

ปริมาณการจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ (ม.ค.- เม.ย. 2549) เดือน/ปี ปริมาณจำหน่าย (ล้านลิตร) แก๊สโซฮอล์ เฉลี่ย/วัน เป้าหมาย/วัน 2549 419.7 3.50 4 ม.ค. 104.7 3.38 4 ก.พ. 95.9 3.43 4 มี.ค. 109.8 3.54 4 เม.ย. 109.3 3.64 4

การจัดจำหน่าย - ปัจจุบันมีผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ จำนวน 9 ราย ประกอบด้วย บริษัท ปตท. บางจาก เชลล์ คาลเท็กซ์ เอสโซ่ เจ็ท ทีพีไอ ปิโตรนาส และ สยามสหบริการ - จำนวนสถานีบริการน้ำมันที่จำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ เดือนเมษายน 2549 - ทั่วประเทศ 3,138 จำนวน - กรุงเทพ 660 จำนวน - ต่างจังหวัด 2,478 จำนวน - บางจาก เพิ่มการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91 ตั้งแต่ต้นปี 2548 โดยเริ่มจำหน่ายในเขตกรุงเทพก่อน

มาตรการส่งเสริม - เร่งขยายจำนวนสถานีบริการน้ำมันจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ จำนวน 4,000 แห่ง ในปี 2548 - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลรถยนต์ที่สามารถใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ - รถยนต์เบนซินระบบเชื้อเพลิงแบบหัวฉีด (Direct Injection) ที่ผลิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 1995) เป็นต้นมาสามารถใช้ น้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ - แต่สำหรับรถยนต์เบนซินระบบเชื้อเพลิงแบบ (Carburetor) ยังไม่แนะนำ เนื่องจากอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชิ้นยางเครื่องยนต์ คือ ชิ้นยางบวม อายุการใช้งานสั้นลง

มาตรการส่งเสริม(ต่อ) - ให้รถยนต์เครื่องยนต์เบนซินของราชการและรัฐวิสาหกิจในจังหวัดที่มี น้ำมันแก๊สโซฮอล์จำหน่าย ต้องใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ - กำหนดราคาขายปลีกน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ต่ำกว่าราคาขายปลีกน้ำมัน เบนซินออกเทน 95 จำนวน 1.50 บาท/ลิตร ตั้งแต่ วันที่ 25 มิถุนายน 2548

มาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเอทานอล - ให้ ปตท.นำเข้าเอทานอลชั่วคราวในช่วงครึ่งปีหลัง 2548 - ห้ามการส่งออกกากน้ำตาล - เร่งจัดหาเอทานอลในประเทศให้เพียงพอ - ให้โรงงานเอทานอลที่ได้รับอนุญาต 24 แห่ง จากกรรมการ เอทานอลแห่งชาติ เร่งดำเนินการก่อสร้างโรงงาน หากไม่มี การดำเนินการหลัง เดือนกรกฎาคม 2549 จะตัดสิทธิ

ไบโอดีเซล (Bio-diesel)

การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล ไบโอดีเซล (Bio-diesel): - น้ำมันที่ผลิตได้จากการนำน้ำมันพืชชนิดต่างๆหรือน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหาร แล้วมาแปรสภาพโดยผ่านขบวนการเคมี (Transesterification) - เติมแอลกอฮอล์ เช่น เอทานอล หรือ เมทานอล และตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ ภายใต้สภาวะที่มีอุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนโครงสร้าง น้ำมันจาก Triglycerides เป็น Oganic Acid Esters ได้เป็นน้ำมันชนิดใหม่ ในรูปของเมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิง สำหรับเครื่องยนต์ได้

มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 (ต่อ) 1. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไอดีเซล ด้วยเป้าหมาย การใช้ไบโอดีเซลแทนน้ำมันดีเซล ร้อยละ 10 ในปี 2555 หรือ ประมาณ 8 ล้านลิตร/วัน 2. กำหนดแผนปฏิบัติและส่งเสริมไบโอดีเซล ดังนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กำหนดพื้นที่ปลูกปาล์มให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือน - ให้ภาคใต้และภาคตะวันออกเป็นฐานการปลูกปาล์ม - พัฒนาและทำโครงการนำร่องในภาคอีสานและภาคเหนือ - จัดหาเมล็ดพันธ์ ส่งเสริมการปลูกปาล์ม และศึกษาผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับเกษตรกร - ประสานและจัดทำความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อปลูก ปาล์มในลักษณะ Contact Farming ด้วย

มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 (ต่อ) กระทรวงการคลัง - พิจารณาจัดตั้งนิติบุคคลเฉพาะกิจ (SPV) เพื่อส่งเสริมการปลูก ปาล์ม พืชน้ำมัน และการผลิตไบโอดีเซล - ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สนับสนุนสินเชื่อแก่ SPV เพื่อดำเนินธุรกิจปาล์มน้ำมัน โดยให้กระทรวงการคลังค้ำประกัน กระทรวงพลังงานและกระทรวงอุตสาหกรรม - รับผิดชอบการผลิตและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ - กำหนดนโยบายการก่อสร้างโรงงานไบโอดีเซลให้สอดคล้องกับ การกำหนดพื้นที่เพาะปลูกปาล์ม ที่ตั้งคลังน้ำมัน เพื่อป้องกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับน้ำมันใช้ประกอบอาหาร และลดต้นทุน ค่าขนส่งในการผสมไบโอดีเซล

มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 (ต่อ) กระทรวงพลังงานและกระทรวงอุตสาหกรรม - ควรมีมาตรการภาษี เพื่อให้ราคาขายปลีกไบโอดีเซลแตกต่าง จากราคาน้ำมันดีเซลในช่วงแรก - ระยะแรกควรผสมไบโอดีเซลในอัตราส่วน 5% และจำหน่าย ในบางพื้นที่ เช่น ภาคใต้ และกรุงเทพฯ 3. กำหนดผสมไบโอดีเซลในอัตราส่วนร้อยละ 10 เพื่อจำหน่ายทั่วประเทศ ในปี 2555 4. กำหนดในหลักการงบประมาณแผ่นดิน วงเงิน 1,300 ล้านบาท เพื่อเป็น ค่าใช้จ่าย ดังนี้ - เงินทุนหมุนเวียนส่งเสริมการปลูก 800 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายในการวิจัยพัฒนาและบริหารจัดการ 500 ล้านบาท

แผนปฏิบัติการไบโอดีเซล มติคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ (กชช.) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2548 ได้กำหนดแผน ดังนี้ ปี 2548-2549 พัฒนาการใช้ไบโอดีเซลในระดับชุมชน เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่น ปี 2550-2554 ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล สัดส่วน 5% เชิงพาณิชย์ โดยเริ่มจากพื้นที่ในภาคใต้และกรุงเทพ ปี 2555 เป็นต้นไป ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล สัดส่วน 10% ทั่วประเทศ

การเตรียมความพร้อมการพัฒนา และส่งเสริมไบโอดีเซล กระทรวงพลังงาน: 1. จัดทำโครงการสาธิตและทดลองผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว ขนาด 2,000 ลิตร/วัน นำไปผสมกับน้ำมันดีเซลในสัดส่วน 5% จำหน่าย เป็นน้ำมันไบโอดีเซลผ่าน ปตท. และบางจาก โดยกำหนดราคาจำหน่าย ต่ำกว่าน้ำมันดีเซล ประมาณ 0.75 บาท/ลิตร รายละเอียด ดังนี้ จังหวัดเชียงใหม่ - ที่ตั้งโครงการ ณ อาคารวิจัยพัฒนาและสาธิตไบโอดีเซล สำนักงาน พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน พื้นที่ 10 อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ - ทดลองจำหน่ายให้กับรถเทศบาลและรถรับจ้างสาธารณะ

การเตรียมความพร้อมการพัฒนา และส่งเสริมไบโอดีเซล (ต่อ) กรุงเทพ - ที่ตั้งโครงการ ณ ศูนย์วิจัยเชื้อเพลิงธรรมชาติ สำนักงานพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เขตรังสิต เพื่อสาธิตในชุมชนขนาดเล็ก - จัดทำระบบการผลิตไบโอดีเซลชุมชนขนาด 200 ลิตร/วัน ในพื้นที่ อ. ทุ่งส่ง จ. นครศรีธรรมราช 2. ว่าจ้างมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คัดเลือกและทดสอบพันธ์สบู่ดำในภาคเหนือ เพื่อให้ได้ผลผลิตไม่ต่ำกว่า 500 กิโลกรัม/ไร่/ปี 3. ขอความร่วมมือจากประเทศอังกฤษ เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการส่งเสริม การปลูกและพันธ์สบู่ดำที่ได้รับการพัฒนาในประเทศอินเดียจนมีผลผลิต สูงถึง 1,000-1,300 กิโลกรัม/ไร่/ปี

การเตรียมความพร้อมการพัฒนา และส่งเสริมไบโอดีเซล (ต่อ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: จัดทำแผนการจัดหาวัตถุดิบ เพื่อผลิตไบโอดีเซล โดยวางแผนการปลูก ปาล์ม 5 ล้านไร่ ในช่วงปี 2548 ดังนี้ - กำหนดพื้นที่ปลูก 4 ล้านไร่ ในประเทศ ทดแทนพื้นที่การเกษตร ที่ให้ผลผลิตต่ำ - สำหรับพื้นที่ 1 ล้านไร่ กำหนดอยู่ในพื้นที่ประเทศเพื่อนบ้าน

รูปแบบการผลิตไบโอดีเซล 1. กำหนดแนวทางการผลิตไบโอดีเซล ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1.1 การผลิตเพื่อใช้ในชุมชน วัตถุดิบ คือ น้ำมันพืชใช้แล้ว 1.2 การผลิตเชิงพาณิชย์ วัตถุดิบ คือ ผลปาล์มดิบ 2. กำหนดรูปแบบโรงงานผลิตไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ 3 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 ต่อยอดจากโรงหีบน้ำมันปาล์มและปรับปรุงโรงไฟฟ้าเดิม ลงทุนเฉพาะโรงงานผลิตไบโอดีเซล 100,000 ลิตร/วัน รูปแบบที่ 2 ลงทุนเฉพาะโรงงานผลิตไบโอดีเซล 100,000 ลิตร/วัน โดยจัดซื้อวัตถุดิบจากตลาด รูปแบบที่ 3 ลงทุนทั้งระบบ

ตลาดไบโอดีเซล กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ออกประกาศคุณภาพน้ำมันไบโอดีเซล มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2548 เพื่อรองรับการจำหน่ายไบโอดีเซล เชิงพาณิชย์ มีผู้สนใจลงทุนตั้งโรงงานผลิตไบโอดีเซล จำนวน 3 ราย คือ - ชุมชนสหกรณ์ชาวสวนปาล์ม อ. อ่าวลึก จ. กระบี่ - บริษัทชุมพรน้ำมันปาล์ม - บริษัทซีพี คาดว่าชุมชนสหกรณ์ชาวสวนปาล์ม น่าจะสามารถดำเนินการได้ก่อน เนื่องจาก มีพื้นที่ปลูกปาล์ม และโรงงานหีบน้ำมันปาล์ม จำหน่ายน้ำมันปาล์มอยู่แล้ว

การกำกับดูแลเพิ่มเติม มติ กชช. วันที่ 13 พฤษภาคม 2548 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 2 ชุด เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน กชช. ดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล - มีรองปลัดกระทรวงพลังงาน (นายพรชัย รุจิประภา) เป็นประธาน และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นอนุกรรมการ - ทำหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะนโยบายและแผนการ พัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล รวมทั้ง มาตรการด้าน การผลิต และราคาซื้อขาย

การกำกับดูแลเพิ่มเติม (ต่อ) 2. คณะอนุกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการใช้เอทานอล - มี ศ.ดร.เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเซษฐ์ เป็นประธาน และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นอนุกรรมการ - ทำหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะนโยบายและแผนการ พัฒนาและส่งเสริมการใช้เอทานอล รวมทั้ง มาตรการด้าน การผลิต และราคาซื้อขาย