ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
Advertisements

สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงานการวิจัย.
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดการบริการสารสนเทศ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
โครงการวิจัย การเปรียบเทียบสมรรถนะคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical.
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การจัดการความรู้ “ การพัฒนาคุณภาพงานสหกิจศึกษา ” การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ มีอยู่และ ถูกจัดเก็บไว้แล้ว มีอยู่แต่ยังไม่ถูก จัดเก็บอย่างเป็นระบบ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical Sciences, Khon Kaen University with Chiangmai University

ชื่อคณะผู้วิจัย นางวลาลักษณ์ ช่างสากล (หัวหน้าโครงการ) นางวลาลักษณ์ ช่างสากล (หัวหน้าโครงการ) นางสาวดรุณี ชูคันหอม (ผู้วิจัยร่วม) อ.วรวรรณ ชุมเปีย (ผู้วิจัยร่วม) ผศ.ไพศาล มงคลวงศ์โรจน์ (ผู้วิจัยร่วม)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะของคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมทั้งสายวิชา เทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด เพื่อศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีจากคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทั้งในระดับคณะและหน่วยงาน เพื่อนำมาเป็น แนวทางในการประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงช่องว่าง (gap) ระหว่างหน่วยงาน เพื่อนำมาใช้ใน การวางแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาคณะให้มีความเข้มแข็งและมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ความสำคัญและที่มาของประเด็นการวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยภูมิภาค ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการกระจายโอกาสทางการศึกษาประชาชน โดยคณะเทคนิค การแพทย์ได้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อผลิตบุคลากรทางวิทยาศาสตร์สุขภาพขึ้น จากการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตลอดเวลา คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ผลิตบัณฑิตทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ในสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด รังสีเทคนิคและกิจกรรมบำบัด นอกจากนี้จากการจัดอันดับของ มหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ถูกจัดอันดับที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย อยูในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยไทย รองจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของคณะเทคนิคการแพทย์ จึงเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีขององค์กรที่มีพัฒนาการอย่าง ต่อเนื่อง และช่วยสะท้อนให้เห็นช่องว่างของความแตกต่างของการปฏิบัติงานตาม ภารกิจ ทั้งนี้ องค์การ UNESCO ได้ศึกษาและแนะนำให้ใช้การทำ benchmarking เป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

ขอบเขตการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงเปรียบเทียบระหว่างคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้นในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน โดยเปรียบเทียบภารกิจและศักยภาพ ทั้งในระดับคณะและสายวิชาเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด โดยเน้นผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2543

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบถึงสมรรถนะและความแตกต่างระหว่างคณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทั้งในระดับคณะและสายวิชา ทำให้เห็นช่องว่างในการพัฒนาคณะ/หน่วยงาน ได้ทราบถึงแนวปฏิบัติที่ดีจากคณะเทคนิคการแพทย์ และสายวิชามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งอาจนำมาประยุกต์หรือปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อคณะ/หน่วยงาน 3) เป็นโอกาสที่จะวิเคราะห์เพื่อแสวงหาความร่วมมือและการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในวิชาชีพเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัดให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น

วิธีการดำเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ แหล่งข้อมูล ใช้แหล่งข้อมูลจากรายงานผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2553 ข้อมูลในฐานข้อมูล che QA online ปีการศึกษา 2553 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี และข้อมูลประกอบอื่นๆ รวมทั้งข้อมูลเชิงประจักษ์จากการตรวจเยี่ยม และการสัมภาษณ์ เครื่องมือ สร้างแบบเก็บข้อมูล common data set ใน excel สำหรับข้อมูลที่เป็นตัวเลข และแบบเก็บข้อมูลสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพให้ครอบคลุม ศักยภาพ ภารกิจรวมทั้งแนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน การวิเคราะห์ข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้วยโปรแกรม SPSS v 15.0 โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบสำหรับข้อมูลที่เป็นตัวเลขแบบต่อเนื่องด้วย student t –test

แผนการดำเนินงาน ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลพื้นฐานและผลการดำเนินงานของสายวิชาเทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด และระดับคณะจาก website เอกสารรายงานประจำปี รายงานผลการประเมินตนเองของหน่วยงาน รายงานผลการประเมินของสกอ. และฐานข้อมูล che QA online ใช้เวลา 30 วัน วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อกำหนดประเด็นและวิธีการเก็บข้อมูลเชิงลึกโดยการประชุมระดมสมอง ใช้เวลา 30 วัน เก็บข้อมูลเชิงลึกที่คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยวิธีการตรวจเยี่ยมและสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบในหน่วยงาน ใช้เวลา 7 วัน วิเคราะห์และสรุปข้อมูลทั้งหมด เพื่อจัดทำรายงานผลการวิจัย ใช้เวลา 30 วัน จัดทำรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์และนำผลการวิจัยเผยแพร่ ใช้เวลา 21 วัน