แบบนำเสนอผลงานโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
Advertisements

ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการปฎิบัติสหกิจศึกษา
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แบบนำเสนอผลงานโครงการ

งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผลการประชุมกลุ่ม โรคหนอนพยาธิ ๒๕๕๗.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
Good Governance :GG.
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี. สายงานนี้คลุมถึงตำแหน่งต่าง ๆ ที่ ปฏิบัติงานทางวิชาการประชาสัมพันธ์ ซึ่งมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติ เกี่ยวกับการศึกษา.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบนำเสนอผลงานโครงการ “การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555” วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม 2555 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1. ชื่อผลงาน : การรณรงค์ป้องกันพยาธิใบไม้ตับ ในตำบลบ้านกง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น 2. เจ้าของผลงาน : นางกาญจนศรี สิงห์ภู่ และ นางสาวสุกานดา อริยานุชิตกุล นายประจวบ ชัยมณี นายชวลิต เนตรอริยทรัพย์ นางภัคณัณท์ อุสันเทียะ นายสุวิทย์ บาลไธสง นางสาวณัฐภรณ์ หาดี นางสาวลัดดาวัลย์ นาสถิตย์ 3. ประเภทผลงานตามพันธกิจ : การจัดการองค์กรที่ดี (ด้านการมีส่วนร่วม) 4. ข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน / ความสำคัญ โรคพยาธิใบไม้ตับยังคงเป็นโรคที่มีอัตราการติดเชื้อที่สูงในภาคอีสานและภาคเหนือของประเทศไทย ในบางพื้นที่ของภาคอีสานมีอัตราการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับสูงกว่าร้อยละ 85 ปัจจัยเสี่ยงสำคัญในการติดเชื้อ เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่ที่ยังนิยมรับประทานอาหาร ประเภทปลาน้ำจืดสุกๆ ดิบๆ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับเป็นสาเหตุสำคัญของโรคท่อทางเดินน้ำดีหลายชนิด รวมถึงมะเร็งท่อน้ำดี ซึ่งประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีสูงเป็นอันดับหนึ่งของโลก โดยมีอัตราการตายกว่า 80 คนต่อวัน ถึงแม้จะมีการควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย มากกว่า 30 ปี แต่อุบัติการณ์ของโรคทั้งสองชนิดนี้ก็ยังคงสูงอยู่ ดังนั้นการให้ความรู้และการตรวจหาไข่พยาธิใบไม้ตับในประชาชน จึงมีส่วนสำคัญที่จะป้องกันไม่ให้ประชาชนเป็นโรคนี้ เนื่องจากหากประชาชนมีไข่พยาธิในอัตราที่จะสามารถก่อโรคได้ ก็จะได้หาทางช่วยเหลือและรักษาได้ทันเวลา และหากการแก้ปัญหานี้ได้ผลก็จะนำไปเป็นตัวอย่างในพื้นที่อื่นอีกต่อไป คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงได้จัดโครงการนำร่องอันจะเป็นต้นแบบของการดูแลสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม ขึ้น เพื่อให้บุคคล สังคม ชุมชน ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และลดอุบัติการณ์การเกิดโรคและลดอัตราการตายจากโรค เพื่อประโยชน์ในเรื่องความสะดวกในการรับบริการของประชาชนในพื้นที่โดยตรง 5. วิธีดำเนินการ (How to) ดังนี้ 1) จัดประชุมเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องเพื่อระดมสมองวางแผนการดำเนินงาน 2) เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก ได้แก่ ห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร ภาควิชาพยาธิวิทยา องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกง 4) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบ 5) จัดทำเอกสารวิชาการเพื่อแจกแก่ประชาชน 6) ลงพื้นที่ให้ความรู้โดยการบรรยายทางวิชาการ และตรวจหาไข่พยาธิ 7) เมื่อพบผู้มีไข่พยาธิจะจัดส่งยาให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกงให้ยาฆ่าพยาธิแก่ประชาชน 8) สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผล แก่ผู้บริหารได้รับทราบ 6. ผลการดำเนินงาน 1) การให้ความรู้ทางวิชาการ ในวันที่ 24, 27 กุมภาพันธ์ 2555 จำนวนผู้เข้าร่วม 313 คน 2) ให้บริการตรวจหาไข่พยาธิ จำนวน 205 คน ตรวจพบไข่พยาธิ ร้อยละ 0.97 (2 ราย) 3) ผลการประเมินความรู้และความพึงพอใจของการให้บริการอยู่ในระดับดี-ดีมาก ร้อยละ 98.95 4) สามารถรายงานผลการตรวจหาไข่พยาธิใบไม้ตับได้ทันเวลา ภายใน 3 วัน 5) ความรู้หลังการฟังบรรยายดีกว่าก่อนการฟังการบรรยาย 7. ปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ (Key success factors) มีการร่วมมือและประสานงานที่ดีจากทีมสหสาขาทุกวิชาชีพ โดยมีการวางแผนงานและกำหนดเป้าหมายร่วมกัน และแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ถือเป็นการจัดการองค์กรที่ดีในด้าน “การมีส่วนร่วม” 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ควรมีการจัดโครงการในลักษณะนี้อีกในพื้นที่ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง