การวัดพื้นที่ต้อเนื้อในกระจกตา โดยใช้การประมวลผลภาพเชิงดิจิตอล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Texture การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
Advertisements

Low-speed UAV Flight Control Phase II
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Inside a digital image How colour is defined for images
Brightness and contrast Image Histogram Modifying hue and saturation
Rendering and 3D models การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
Image Enhancement in the Spatial Domain
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
มองไม่เห็นก็เรียนได้
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
ระบบควบคุมวัตถุเสมือน Augmented Reality Object Manipulation System
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
Image Processing & Computer Vision
Image Processing & Computer Vision
Image Processing & Computer Vision
Binary Image Processing
Image Processing & Computer Vision
Biometric ความหมายของเทคโนโลยี Biometric ความเป็นมาเกี่ยวกับ Biometric
Digital Image Processing Part 3 – Pixel Relationship
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การพัฒนาระบบค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับงานสารบรรณ
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
การวางผังของสถานประกอบการ
Quantifying images การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
Computer Graphics Image Processing 1.
List ADTs By Pantharee S..
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
Introduction to Epidemiology
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
Color Standards A pixel color is represented as a point in 3-D space. Axis may be labeled as independent colors such as R, G, B or may use other independent.
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดพื้นที่ต้อเนื้อในกระจกตา โดยใช้การประมวลผลภาพเชิงดิจิตอล Measurement of Pterygium Area in a Cornea Using Digital Image Processing 26 สิงหาคม 2548 นวภัค เอื้ออนันต์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาวะโรคต้อเนื้อในปัจจุบัน โรคต้อเนื้อเป็นภาวะทางตาที่เป็นปัญหาในประเทศเขตร้อนหลายประเทศ อาการของโรคคือเยื่อตาบริเวณตาขาวขยายเข้ามาใน บริเวณกระจกตา ทำให้รบกวนการมองเห็น ขั้นร้ายแรงที่สุดอาจทำให้ตาบอดได้ ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดโรค คือ แสงแดด ปัจจัยรองได้แก่ ฝุ่นละออง, ลม, ความชื้นในอากาศต่ำ และสารเคมีต่างๆ ในประเทศไทย โรคต้อเนื้อเกิดขึ้นมากกับประชากรในเขตภาคอีสาน เนื่องจากเป็นที่ราบสูงมีสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง และประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

วัตถุประสงค์ของโครงการ การรักษาโรคต้อเนื้อ จักษุแพทย์จะต้องผ่าตัดเพื่อลอกต้อเนื้อที่ปกคลุม กระจกตาออก ปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่จักษุแพทย์ใช้ในการตัดสินใจว่าจะดำเนินการผ่า ตัดเพื่อลอกต้อเนื้อออกหรือไม่นั้นคือขนาดของต้อเนื้อ งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการวัดพื้นที่ของต้อเนื้อเทียบกับพื้นที่ของกระจกตา โดยใช้การประมวลผลภาพเชิงดิจิตอล

หลักการวัดพื้นที่ต้อเนื้อโดยใช้การประมวลผลภาพเชิงดิจิตอล Cornea image Cornea Segmentation Convex Hull Algorithm Cornea Perimeter Estimation Pterygium Area Estimation

การแยกแยะพื้นที่กระจกตา ลักษณะของต้อเนื้อ: ต้อเนื้อกับตาขาวจะมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน ขอบเขต ของพื้นที่ของต้อเนื้อคลุมเครือไม่ชัดเจน เราไม่อาจจะแยกแยะพื้นที่ของต้อเนื้อ ออกจากพื้นที่ของตาขาวได้โดยตรง งานวิจัยนี้หาพื้นที่ต้อเนื้อทางอ้อมโดยใช้วิธีการประมาณเส้นรอบวงของ กระจกตาแทน พื้นที่ของกระจกตาสามารถแยกแยะได้ง่ายกว่า เนื่องจาก กระจกมีสีที่แตกต่างจากตาขาวอย่างชัดเจน

ภาพถ่ายสีของกระจกตา Original image Red component Green component Blue component

การแยกแยะพื้นที่กระจกตา ใช้วิธีการ Intensity thresholding กับ Red component ของภาพเนื่องจาก พื้นที่ของตาขาวและต้อเนื้อมีสีออกไปทางโทนสีแดงเพราะมีเส้นเลือดฝอย เป็นจำนวนมาก ในขณะที่พื้นที่ของตาดำมีสีออกไปทางสีน้ำตาลดำ ค่า T ได้มาจากการปรับค่าด้วยมือหรือใช้ Automatic threshold level selection algorithm 1. Set initial value of T 2. 3. 4. 5. Repeat step 2

ผลการแยกแยะพื้นที่กระจกตา 1 Original image Red component 2 3 Cornea area After thresholding

การประมาณเส้นรอบวงของกระจกตา สมมุติฐาน: สัณฐานของกระจกตาเป็น Convex = ไม่มีส่วนที่เว้าเข้าไป Cornea perimeter estimation algorithm: 1. Find boundary pixels of cornea. 2. Find pixels that form a convex hull of a cornea from a set of pixels in Step 1. 3. Estimate cornea perimeter from a set of pixels from Step 2 using the least square polynomial approximation method.

Convex Hull Algorithm Input : A set of points on a cornea boundary Output: A set of points on a boundary of a convex hull of a cornea 1. Sort the points by x-coordinate to get a sequence p1, p2, … ,pn For the upper side of a convex hull 2. Put the points p1 and p2 in a list Lupper with p1 as the first point 3. For i = 3 to n 4. Do append pi to Lupper 5. While Lupper contains more than 2 points and the last 3 points in Lupper do not make a right turn 6. Do delete the middle point of the last 3 points from Lupper Turn Left NOK! Turn Right OK! Turn Right OK!

Convex Hull Algorithm (cont.) For the lower side of a convex hull 7. Put the points pn and pn-1 in a list Llower with pn as the first point 8. For i = n-2 down to 1 9. Do append pi to Llower While Llower contains more than 2 points and the last 3 points in Llower do not make a left turn Do delete the middle point of the last 3 points from Llower 12. Remove the first and the last points from Llower 13. Append Llower to Lupper resulting in the list L 14. Return L Turn Right OK! Turn Right OK! Turn Left NOK!

Least square approximation A 2-D smooth curve can be approximated by using Coefficients a0, a1, …, an, b0, b1,…, bn are obtained from (xi,yi), i = 0,…,M are pixels on a convex hull. ti = normalized arc length parameters:

ผลลัพธ์ของการทำ Least square approximation Cornea boundary Convex hull 1 Estimated perimeter 2 n = 8 3

ผลการทดลองการวัดพื้นที่ของต้อเนื้อ Estimated pterygium area 10.6 % ของพื้นที่กระจกตา พื้นที่ต้อเนื้อ = พื้นที่ภายในเส้นรอบวงที่ประมาณได้ - พื้นที่กระจกตา

ผลการทดลอง ในบางกรณี วิธีการ Intensity thresholding ล้มเหลวในการแยกแยะพื้นที่ กระจกตา เนื่องจากภาพถ่ายมีความสว่างที่ไม่สม่ำเสมอ Original image Segmented image

สรุปผลการทดลอง กิตติกรรมประกาศ เส้นรอบวงของกระจกตาประมาณได้จากเซตของ Pixel ที่เป็นขอบของ Convex hull ของกระจกตาซึ่งได้มาจากการทำ Intensity thresholding กับ Red component ของภาพถ่ายสีของดวงตา พื้นที่ของต้อเนื้อคำนวณได้จากผลต่างระหว่างพื้นที่ภายในเส้นรอบวงของ กระจกตากับพื้นที่ภายในกระจกตา ผลการทดลองเบื้องต้นพบว่าวิธีการที่นำเสนอสามารถใช้ได้ดีกับภาพถ่าย ดวงตาที่มีความสว่างสม่ำเสมอ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ พญ. สุธาสินี สีนะวัฒน์ และ นพ. โอฬาร สุวรรณอภิชน คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่ให้ความอนุเคราะห์ภาพถ่ายดวงตาที่ใช้ในงานวิจัยนี้ และขอขอบคุณนักศึกษากลุ่มโครงงาน KKU-COE2002-19