SPA ไม่สบายอย่างที่คิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
How to write impressive SAR
Impressive SAR.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักการเขียนโครงการ.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SPA ไม่สบายอย่างที่คิด

3P & 3C-PDSA 4 Circles, 6 Tracts & 8 Tracers ทบทวน 3P & 3C-PDSA 4 Circles, 6 Tracts & 8 Tracers

พยายามหาจุดร่วมของเครื่องมือต่างๆ ทำไมต้องเป็น 3P 3P เป็นหลักพื้นฐานที่ง่ายที่สุด ใช้ได้กับทุกระดับ 3P ย้ำให้เราต้องเข้าใจเป้าหมายของทุกสิ่งที่เราทำ 3P เป็นเครื่องมือให้เราทบทวนงานของเราอย่างง่ายที่สุด ไม่ ต้องเน้นเอกสาร แต่นำไปสู่การปรับปรุงโดยทันที พยายามหาจุดร่วมของเครื่องมือต่างๆ

ทำแนวคิด TQA ให้เรียบง่าย ทำไมต้องเป็น 3C-PDSA PDSA คือการหมุนวงล้อของการพัฒนาและการเรียนรู้ 3C คือการกำหนดสิ่งที่จะนำไปหมุนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ และหลักการ 3C-PDSA ก็คือ 3P ภาคพิศดาร Core values -> ลุ่มลึก Context -> ตรงประเด็น Criteria -> ครบถ้วน PDSA -> ต่อเนื่อง ทำแนวคิด TQA ให้เรียบง่าย

ทำไมต้องพื้นที่พัฒนา 4 วง เพื่อเลือกใช้เครื่องมือคุณภาพที่เหมาะสมกับ แต่ละลักษณะพื้นที เพื่อพัฒนาให้ครอบคลุมทุกลักษณะพื้นที่ เพื่อพิจารณาโอกาสซ้ำซ้อน โอกาสประสาน โอกาสกำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน รพ.เน้นพัฒนาระดับหน่วยมากกว่าด้านอื่นๆ

ทำไมต้องเป็นเส้นทางการพัฒนา 6 Tracks เพื่อมีแนวทางเดินที่ชัดเจนในการพัฒนา เพื่อให้เห็นจุดเริ่ม การเติบโต และการเชื่อมโยง อย่าง เป็นขั้นตอน เพื่อมิให้การพัฒนาหยุดชะงักอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่ง

ตามรอย Clinical Tracer ตามรอยผู้ป่วยแต่ละราย 4 วง 6 Track 8 Tracing ตามรอยคุณภาพ ของแต่ละหน่วยงาน ตามรอย AE ตามรอย SIMPLE 1. Unit Optimization 2. Patient Safety 3. Clinical Population ตามรอย Clinical Tracer ตามรอยผู้ป่วยแต่ละราย 4. Standard Implementation ตามรอยมาตรฐานและ SPA 5. Strategic Management 6. Self Assessment ตามรอยแผนกลยุทธ์ ตามรอยการประเมินตนเอง

SPA คืออะไร SPA 3P นำมาตรฐาน Purpose Standards มาสู่การปฏิบัติ Process Practice ประเมินให้เห็นชัด Performance Assessment

สรุปผลใน Self Assessment SPA ศึกษาทำความเข้าใจ คุยกันเล่น เห็นของจริง ตามรอย self enquiry clinical self enquiry อิงการวิจัย ประเมินการปฏิบัติ ประเมินการปฏิบัติ ธำรงคุณภาพ พัฒนาและประเมินซ้ำ QA CQI สรุปผลใน Self Assessment การประเมินตนเองเป็นบันทึกการเดินทางของการใช้ SPA และการพัฒนา

เรียนรู้วิธีการใช้ประโยชน์จาก SPA Incident / Adverse Event เรื่องเล่าที่ประทับใจ 1 Standards ศึกษาความหมายของคำที่ไม่เข้าใจ ระบุความมุ่งหมายของมาตรฐาน วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง คุยกันเล่น 2 6 Practice Incident / Adverse Event Clinical Self Enquiry ประเมินตนเองเบื้องต้น 3 เห็นของจริง 6 4 - โอกาสพัฒนา พัฒนา 9 อิงการวิจัย ประเมินผล ทบทวนการใช้ core values 5 7 + Assessment ประเมินตนเองอย่างสมบูรณ์ 8

ทำไมจึงเน้นเรื่องเล่าที่ประทับใจ

ตัว P (Practice) ใน SPA พยายามสื่ออะไรกับ รพ.

คือ การเขียนสรุปการประเมินตนเอง เริ่มต้นจากปลายทาง คือ การเขียนสรุปการประเมินตนเอง

ประเมินตนเองเบื้องต้น + หมายถึงสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว - หมายถึงโอกาสพัฒนา ± หมายถึงก่ำกึ่ง เช่น ต้องพัฒนา และมีแผนแล้ว + รพ.ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน รพ. เมื่อเทียบกับ 3 P = ?

บอกผลลัพธ์ได้หรือไม่ ทำให้จำนวนผู้ป่วยจิตเวชที่ลงมือฆ่าตัวตายใน รพ. ลดลงจากปีละ 10 รายเหลือปีละ 0-1 ราย ผู้ป่วยจิตเวชที่ฆ่าตัวตายใน รพ.มีจำนวนน้อยอยู่แล้ว ประมาณปีละ 1 ราย เมื่อเทียบกับ 3 P = ?

มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไป ? มีการปรับปรุง CPG และย้ำให้ทุกคนปฏิบัติตาม เมื่อเทียบกับ 3 P = ?

อะไรที่เป็นจุดสำคัญของ CPG มีการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน เพิ่มจากที่เคยมุ่งเน้นเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้า Key Word …. ? เกี่ยวข้องกับ SPA & 3C ?

รวมข้อมูลทั้งหมด สรุปใน 3 บันทัด แม้ว่าจำนวนผู้ป่วยที่ฆ่าตัวตายใน รพ.จะมีเพียงปีละ 0-1 ราย แต่เป็นความสูญเสียที่รุนแรง รพ.ได้ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน รพ. ด้วยการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน เพิ่มจากที่เคยมุ่งเน้นเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้า รพ.ได้ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน รพ. ด้วยการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน เพิ่มจากที่เคยมุ่งเน้นเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้า ทำให้จำนวนผู้ป่วยที่ลงมือฆ่าตัวตายลดลงจากปีละ 10 รายเหลือ 0-1 ราย

ประเมินตนเองอย่างสมบูรณ์ เกณฑ์พิจารณา การปฏิบัติที่สะท้อนคุณภาพ การปรับปรุง ผลลัพธ์ โอกาสพัฒนาและแผนการพัฒนา Score ตอบในลักษณะ bullet อย่างกระชับ ประมาณประเด็นละไม่เกิน 3 บันทัด

การตอบที่แสดงผลลัพธ์ เกณฑ์พิจารณา การปฏิบัติที่สะท้อนคุณภาพ การปรับปรุง ผลลัพธ์ โอกาสพัฒนาและแผนการพัฒนา Score (2) การดูแลฉุกเฉิน/เร่งด่วน 2.5 acute MI KPI Door to drug time ที่ > 30 นาที ปี 2551 ได้เพียง 4.26 % ปี 2552 ทีมได้มีการปรับแนวทางเพิ่มความรวดเร็วในเรื่องนี้ โดยให้ผู้ป่วย ACS สามารถได้รับยาที่ ER แทนการรอไปให้ที่ IPD/ICU อยู่ระหว่างการติดตามผล acute stroke ปี 2552 มีการปรับระบบบริการโดยมี nurse case manager ติดตามผู้ป่วย acute stroke ที่ ER และประสานให้ได้รับยาตาม protocol ตามแนวทางที่กำหนด อยู่ระหว่างการติดตามผล head Injury, multiple trauma มีทีมพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ ติดตามตัวชี้วัดที่สะท้อนความรวดเร็วในการดูแลและทบทวนผลที่เกิดขึ้นจากความล่าช้า เช่น ผู้ป่วย HI ได้รับ CT Scan Emergency ล่าช้ากว่า 1 ชม. ลดลงจาก 9.9% ในปี 2551 เหลือ 6.6% ในปี 2552, ผู้ป่วย blunt abdominal trauma ที่ความดันเกินกว่า 90/60 mmHg และได้รับการผ่าตัดช้ากว่า 4 ชม.ลดจาก 29.3% ในปี 2550 เหลือ 18.6% ในปี 2552 และกลุ่มที่มีความดันต่ำกว่า 90/60 mmHg ที่ได้รับการผ่าตัดช้ากว่า 1 ชม. ลดลงจาก 53.2% ในปี 2550 เหลือ 15% ในปี 2552

เหมือนจะง่าย ?? … แต่ไม่ยากเกินไป …

ประเมินตนเองเบื้องต้น

คิดถึง - เขียนสิ่งที่เรา/ทีมทำมาแล้ว ภายใน 5 นาที ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน รพ. ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….

ให้กลุ่มแลกเปลี่ยนถามกันเอง โดยใช้ 3 P ในการถามเสมอ ถ้าตอบได้ให้ + ถ้าตอบไม่ได้ให้ – ถ้ามีคำตอบ แต่จำผลลัพธ์/การเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ให้  … เจ้าของเรื่องกลับไปหาคำตอบกับทีมที่รพ. และทำเพิ่มกับสมิกคนอื่นๆ

รพ.จะรับรองขั้น 3 … Standard Implementation ทั้งหมด

สรุปผลใน Self Assessment SPA ศึกษาทำความเข้าใจ คุยกันเล่น เห็นของจริง ตามรอย self enquiry clinical self enquiry อิงการวิจัย ประเมินการปฏิบัติ ประเมินการปฏิบัติ ธำรงคุณภาพ พัฒนาและประเมินซ้ำ QA CQI สรุปผลใน Self Assessment การประเมินตนเองเป็นบันทึกการเดินทางของการใช้ SPA และการพัฒนา

ใช้ SPA ส่วน A เปรียบเทียบผลงานเดิมกับสิ่งที่ยังไม่มีผลงาน สรุปสิ่งที่เป็นโอกาสพัฒนาทั้งหมดในมาตรฐานแต่ละเรื่อง

ใคร? จะทำ SPA ส่วนไหน?

…. วิธีเริ่มต้น เริ่มจาก A ใน SPA แต่ละมาตรฐาน….

A ในระบบยาทั้งหมด

สรุปแผน เมื่อผ่านการกรองผลงานโดยรวมแล้ว ผลงานเรื่องไหนที่ควรเร่งพัฒนาเพื่อให้ผลงานดีตาม target ที่กำหนดไว้ จะทำวิธีไหน ต้องติดตาม process อะไร จะติดตามอย่างไร ทีมไหนจะติดตาม ติดตามแล้วจะรายงานอย่างไร จากนั้นนำ process ที่สำคัญไปกำหนดเป็น KPI process นั้นๆ ลงมือติดตามตามข้อสรุป ผลงานที่ควรติดตามเพิ่มคือข้อใดบ้าง , วิชาชีพไหนจะรับผิดชอบ , จะหาผลงานเพิ่มวิธีไหน เช่น ทบทวนเวชระเบียน, ตรวจผลงานจริงใน site งาน เป็นต้น กำหนดให้รายงานความคืบหน้าครั้งที่ 1 เมื่อไร

อย่างไรที่เป็นเรื่องสำคัญ ? เป็นผลงานที่สอดคล้องกับเข็มมุ่งที่รพ.กำหนด เป็นผลงานที่จะสะท้อนการใช้ค่านิยม (Core Value) ที่องค์กรกำหนดไว้ นำ criteria overall scorebook ตั้งแต่คะแนน 1-3 หรือ นำประเด็นในมาตรฐานที่มี weight มากกว่าในประเด็นอื่นๆมาใช้ เช่น ระบบยา; ประเมินการปฏิบัติในการใช้ยา HAD, ประเมินความปลอดภัยในการให้ยา, ประเมินระบบการจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน เป็นต้น ลอง score ให้คะแนนตัวเองใหม่

เมื่อตอบ SPA แบบสมบูรณ์ ทำแล้วให้ทีมช่วยกันอ่าน เพิ่มเติม/ตัดออก เพิ่มเติม ถ้า…. อ่านแล้วมีแต่ process หรือ ไม่ชัดเจนว่ามีการปรับเปลี่ยนอะไรที่แตกต่างไปจากงานเดิมที่ทำอยู่แล้ว (routine) … กลุ่มผู้ป่วยที่เฝ้าระวังเพิ่ม คือ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ใช่ routine เดิมในการเฝ้าระวัง ตัดออก ถ้า …. เป็นข้อความที่เป็นทฤษฎี/เขียนเชิงวิชาการ/เขียนหลักการเหตุผล ทำเพิ่ม/เขียนแผนพัฒนา ถ้า … เป็นเรื่องสำคัญที่ยังไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน หรือ ผลงานยังไม่ได้ตาม target ที่กำหนดไว้

อย่างไรที่เป็นเรื่องสำคัญ ? เป็นผลงานที่สอดคล้องกับเข็มมุ่งที่รพ.กำหนด เป็นผลงานที่จะสะท้อนการใช้ค่านิยม (Core Value) ที่องค์กรกำหนดไว้ นำ criteria overall scorebook ตั้งแต่คะแนน 1-3 หรือ นำประเด็นในมาตรฐานที่มี weight มากกว่าในประเด็นอื่นๆมาใช้ เช่น ระบบยา; ประเมินการปฏิบัติในการใช้ยา HAD, ประเมินความปลอดภัยในการให้ยา, ประเมินระบบการจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน เป็นต้น ลอง score ให้คะแนนตัวเองใหม่