Smoking Cessation Services in Thailand ภก.คทา บัณฑิตานุกูล เครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรมเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ 5 มิ.ย. 2549 Funded by
งานวิจัย: ข้อมูลปัจจุบันเกี่ยวกับคลินิกอดบุหรี่ในประเทศไทย ได้รับการสนับสนุนโดย (สสส.) ธันวาคม 2548 ขอบเขตและวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาข้อมูลปัจจุบันเกี่ยวกับการให้บริการเลิกบุหรี่ ในประเทศไทย ส่วนที่ 1 ความครอบคลุม ส่วนที่ 2 การเข้าถึง ส่วนที่ 3 รูปแบบ ลักษณะการให้บริการ
ส่วนที่ 1 ความครอบคลุมของสถานบริการเลิกบุหรี่ รวบรวมเฉพาะข้อมูลที่จากแหล่งที่ระบุว่าเป็นรายชื่อสถานบริการเลิกบุหรี่ - ข้อมูลของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ที่เผยแพร่ผ่าน www.thaiquit.com (2000) - รายชื่อลูกค้าที่ซื้อยาเลิกบุหรี่ จากบริษัทยา 2 แห่ง (2003-4) - แบบสอบถามการให้บริการเลิกบุหรี่จากงานประชุม “บุหรี่และสุขภาพ” (2005) Total 381 sites รายชื่อสถานบริการเลิกบุหรี่ไม่ครอบคลุม Quitline, ร้านยา, สถานบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ
ส่วนที่ 2 การเข้าถึงสถานบริการเลิกบุหรี่ การมีบริการเลิกบุหรี่ วิธีการ: สำรวจทางโทรศัพท์ รายชื่อทั้งหมด N=381 แห่ง จำนวนตัวอย่าง n=125 แห่ง ไม่สามารถติดต่อได้ 20 แห่ง (16.0%) ติดต่อได้ 105 แห่ง (84.0%) ไม่สามารถเข้าถึงการบริการ 39 แห่ง (31.2%) มีการให้บริการเลิกบุหรี่ 86 แห่ง (68.8%) ไม่มีการให้บริการเลิกบุหรี่ 19 แห่ง (15.2%) สามารถเข้าถึงสถานบริการเลิกบุหรี่ได้ 68.8% (86 จาก 125)
ส่วนที่ 2 การเข้าถึงสถานบริการเลิกบุหรี่ การมีบริการเลิกบุหรี่ จำแนกตามประเภทสถานบริการ 2/2 Referral only 2/4 32/40 27/34 12/13 11/12
ส่วนที่ 3 รูปแบบ ลักษณะการให้บริการเลิกบุหรี่ วิธีการศึกษา: การสัมภาษณ์เชิงลึกทางโทรศัพท์ 29 แห่ง 6 แห่ง จาก 29 แห่งมีการจัดตั้ง “คลินิกเลิกบุหรี่” หน่วยงานรับผิดชอบ: แผนกบำบัดยาเสพติด, แผนกจิตเวช, งานส่งเสริมสุขภาพ การให้บริการ มักเปิดให้บริการเพียงบางวัน และเป็นการให้คำปรึกษาโดยไม่ใช้ยา หลายแห่งไม่สามารถเข้าถึงยาเพื่อเลิกบุหรี่
ขอขอบคุณ คณะผู้วิจัย ภญ.ชวนชม ธนานิธิศักดิ์ ภญ.ชวนชม ธนานิธิศักดิ์ ผศ.ดร.ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ภก.คทา บัณฑิตานุกูล และ ทีมบุคลากรทางการแพทย์ทุกท่านที่ให้ข้อมูล Funded by Thai Health Promotion Foundation