รหัส การแพทย์แผนไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
1 ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส แก้ไขครั้งล่าสุด 11 May 2009.
การเจริญเติบโตของมนุษย์
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ
การใช้งาน Microsoft Excel
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
SCC : Suthida Chaichomchuen
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
บรรณารักษชำนาญการพิเศษ
 เครื่องมือทางการตลาดเพื่อนำเสนอตัวเอง  เป็นข้อเท็จจริงที่บอกถึงความสำเร็จในอาชีพ การงานที่ผ่านมา  แสดงถึงคุณสมบัติและความสามารถ  เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าคุณมีคุณสมบัติเหมาะสมกับ.
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
7 อาชีพ ที่น่าสนใจ ทำงานได้เสรี 10 ประเทศอาเซียนใน ปี 2558.
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
ประโยชน์ของการนวด 1 เป็นการกระตุ้นประสาทสัมผัสตามธรรมชาติ ช่วยให้สมองและระบบประสาทพัฒนาอย่าง รวดเร็ว 2 ทำให้ทารกหลับได้สนิทและนานขึ้น ทำให้ น้ำหนักเพิ่มเร็ว.
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
สามารถแก้ไขข้อมูล ได้ดังนี้ รหัสผ่าน (username / password) ของตำบล แก้ไข - เพิ่มเติม ฐานข้อมูลทั่วไป ของจังหวัด แก้ไข - เพิ่มเติม.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ขอบข่ายของระบบ รองรับระบบงานของ บริษัทประกันภัย รองรับระบบงานของ
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
การพันผ้า (Bandaging)
โรคเบาหวาน ภ.
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การนวดไทยแบบราชสำนัก
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การเจริญเติบโตของร่างกาย
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การเขียนรายงาน.
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัส การแพทย์แผนไทย

เอกสารอ้างอิง หนังสือรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ของสถาบันการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย คู่มือการให้รหัสด้านการแพทย์แผนไทย บัญชีรหัสโรคและอาการ ดรรชนีรหัสโรคและอาการ บัญชีรหัสหัตถการ

รหัสการแพทย์แผนไทย รหัสการแพทย์แผนไทย เป็นส่วนหนึ่งของระบบรหัส ICD-10-TM (บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10 ดัดแปลงสำหรับประเทศไทย) ประกอบด้วย รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ รหัสหัตถการ

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ เป็นรหัสตัวอักษรผสมตัวเลข รวม 3-5 หลัก เช่นเดียวกับรหัส ICD-10 ที่ใช้กับโรคและอาการแผนปัจจุบัน รหัสหลักแรกซ้ายมือเป็นอักษรภาษาอังกฤษ ตัว U เหมือนกันทุกรหัส รหัสหลักที่ 2-5 เป็นเลขอารบิก มีจุดคั่นระหว่างรหัสหลักที่ 3 และหลักที่ 4

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ รหัสโรค ชื่อโรคและอาการ U50.0 แพ้ท้อง อาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่พบในสตรีตั้งครรภ์ในช่วง ระยะไตรมาสแรก และอาการดีขึ้นหลังจากนั้น คำจำกัดความที่กำหนดโดย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ ประกอบด้วย 6 กลุ่มรหัส U50 – U52 โรคของสตรี U54 – U55 โรคของเด็ก U56 – U60 โรคที่เกิดอาการหลายระบบ U61 – U72 โรคที่เกิดเฉพาะตำแหน่ง U74 – U75 โรคและอาการอื่น U77 การส่งเสริมสุขภาพและ การป้องกันโรค

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “และ” มีความหมายว่า “และ/หรือ” โรคและอาการของศีรษะ, สมอง และระบบประสาท U61 หมายความว่า รหัสในกลุ่ม U61 ทั้งหมดเป็นรหัสสำหรับโรค และ/หรือ อาการของศีรษะ, สมอง และ/หรือ ระบบประสาท บางรหัสเป็นรหัสของโรค บางรหัสเป็นรหัสของอาการ บางโรคเกิดเฉพาะศีรษะ บางโรคเกิดเฉพาะสมอง บางโรคเกิดเฉพาะระบบประสาท และบางโรคเกิดกับทั้งสมองและระบบประสาท

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “หรือ” มีความหมายว่า “หรือ” U61.0 อัมพฤกษ์ หรือ ลมอัมพฤกษ์ หมายความว่า ไม่ว่าแพทย์จะวินิจฉัยว่า “อัมพฤกษ์” หรือ “ลมอัมพฤกษ์” ก็ใช้รหัส U61.0 เหมือนกัน

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “ไม่รวม” แสดงว่า รหัสหรือกลุ่มรหัสนั้นไม่รวมชื่อโรคหรืออาการใดบ้าง และมีวงเล็บระบุรหัสสำหรับชื่อโรคหรืออาการที่ไม่รวมนั้น U55.9 โรคของเด็ก, ไม่ระบุรายละเอียด ไม่รวม: โรคของเด็กอายุไม่เกิน 5 ปี, ไม่ระบุรายละเอียด (U54.9) หมายความว่า รหัส U55.9 ไม่รวมโรคที่ไม่ระบุรายละเอียดของเด็กอายุไม่เกิน 5 ปี ซึ่งโรคกลุ่มนี้ใช้รหัสในวงเล็บ คือ U54.9

คำและเครื่องหมายที่ใช้ เครื่องหมาย [ ] แสดงว่า คำที่อยู่ในวงเล็บมีความหมายเหมือนกับคำที่อยู่หน้าวงเล็บ U54.1 สำรอกทับทราง [ซาง] ไม่ว่าแพทย์จะบันทึกว่า “สำรอกทับทราง” หรือบันทึกว่า “สำรองทับซาง” ให้ใช้รหัส U54.1 เหมือนกัน เพราะคำว่า “ทราง” กับ “ซาง” คือคำเดียวกัน ต่างกันที่ตัวสะกดเท่านั้น

เลือกให้รหัสที่ละเอียดที่สุด โรคหรืออาการใดที่มีรหัสละเอียดถึง 5 หลัก ต้องให้รหัส 5 หลักเสมอ ดังนั้นรหัส 3 หลักและ 4 หลักที่เป็นรหัสแม่ของรหัส 5 หลักนั้นจะถูกงดใช้โดยปริยาย ในบัญชีรหัสการวินิจฉัยโรคและอาการได้พิมพ์รหัสที่งดใช้ด้วยสาเหตุนี้ด้วยอักษรสีขาวบนพื้นสีดำ

เลือกให้รหัสที่ละเอียดที่สุด ไข้ โรคที่เกี่ยวกับไข้ U56.00 ไข้เหือด ให้จับสะท้านร้อนสะท้านหนาว ให้ เชื่อมมัว ให้ปวดศีรษะ วันหนึ่งสองวัน ผุดขึ้นมาเป็นผื่นปื้นหนาๆ อาจขึ้นทั่ว ทั้งตัวได้ ถ้าหลบเข้าในท้องให้ลง ลักษณะหัดเหือดมีลักษณะคล้ายคลึง กัน U56 U56.0 U56 และ U56.0 เป็นรหัสที่งดใช้

โรคและอาการอื่นที่ระบุรายละเอียด อาการทางจิตใจ U75.20 เครียด หรือ วิตกกังวล U75.21 ซึมเศร้า U75.22 นอนไม่หลับ U75.28 อาการอื่นทางจิตใจที่ระบุ รายละเอียด U75.29 อาการทางจิตใจ, ไม่ระบุ รายละเอียด U75.2 รหัส U75.28 ใช้เมื่อแพทย์ระบุคำวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีอาการทางจิตใจที่ระบุรายละเอียดชัดเจน แต่ไม่มีรหัสเฉพาะเช่น วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีอาการประสาทหลอน ซึ่งเป็นอาการทางจิตใจ แต่ไม่ตรงกับรหัส U75.20, U75.21, และ U75.22

รหัสที่ไม่ระบุรายละเอียด เป็นรหัสที่มีคุณค่าทางเวชสถิติต่ำ ผู้ให้รหัสควรหลีกเลี่ยงการให้รหัสประเภทนี้ เมื่อพบว่าแพทย์วินิจฉัยไม่ละเอียดควรปรึกษาแพทย์ก่อนให้รหัส U50.9 ความผิดปกติของสตรีตั้งครรภ์หรือหลัง คลอด, ไม่ระบุรายละเอียด U51.9 ความผิดปกติของโลหิตระดู, ไม่ระบุ รายละเอียด U52.9 โรคและอาการของสตรี, ไม่ระบุ รายละเอียด U55.9 โรคของเด็ก, ไม่ระบุรายละเอียด

อย่าให้รหัสของอาการถ้าทราบชื่อโรค หากแพทย์บันทึกทั้งชื่ออาการและชื่อโรคที่เป็นต้นเหตุของอาการนั้น ให้รหัสเฉพาะรหัสของโรคที่เป็นต้นเหตุ ไม่ต้องให้รหัสของอาการนั้น แพทย์วินิจฉัยว่า 1. ลมกองหยาบ 2. จุกเสียด ให้รหัสเฉพาะ U57.0 ลมกองหยาบ รหัสเดียว ไม่ต้องให้รหัส U66.70 จุกเสียดแน่นท้อง ร่วมด้วย

วิธีค้นหารหัสโรคและอาการ วิธีที่ 1 ค้นหาจากบัญชีรหัสโรคและอาการ วิธีที่ 2 ค้นหาจากดรรชนีรหัสโรคและอาการ

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ เรียงลำดับคำหลักและคำย่อยตามพยัญชนะไทย จาก ก ไปถึง ฮ เช่นเดียวกับปทานุกรม คำที่เป็น คำหลัก ในการค้นหารหัสจะพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์หนา คำที่เป็น คำย่อย ในการค้นหารหัสจะพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์บาง และมีขีด – หน้าคำ โดยจำนวนขีดจะแสดงระดับของคำย่อย

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ คำหลัก คือ คำที่แสดงว่าเป็นโรคหรือมีความผิดปกติ ไม่ใช่คำที่มาขยายว่าเป็นโรคแบบใด หรือบอกว่าเกิดโรคที่อวัยวะใดหรือส่วนใดของร่างกาย คำขยาย คำหลัก กษัย กล่อน ลม คำขยาย

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัย” กษัย U60.9 − กล่อน U60.29 − − ดิน U60.20 − − เถา U60.24 − − น้ำ U60.21 − − ไฟ U60.23 − − ลม U60.22 เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัยกล่อน” เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัยกล่อนลม” ผู้ให้รหัสควรหลีกเลี่ยงการให้รหัส U60.9 และ U60.29 ซึ่งเป็นรหัสที่ไม่ระบุรายละเอียด

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย เป็นรหัสตัวเลขอารบิก 7 หลัก เช่นเดียวกับรหัสผ่าตัดและรหัสหัตถการอื่นในระบบ ICD-10-TM แต่ละรหัสแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนต้น ประกอบด้วยเลข 3 หลักแรก แสดงอวัยวะหรือส่วนของร่างกายที่แพทย์ทำหัตถการ ส่วนกลาง ประกอบด้วยเลข 2 หลักกลาง แสดงประเภทของหัตถการ ส่วนท้าย ประกอบด้วยเลข 2 หลักท้าย แสดงชนิดของหัตถการ

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย ตัวอย่างรหัส 3 หลักแรกสำหรับหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย 100 ศีรษะ 154 ใบหน้า 300 หน้าอก 400 หน้าท้อง 590 หลัง 721 ไหล่, บ่า 722 ต้นแขน 723 ข้อศอก 724 ปลายแขน 871 สะโพก, เอว 872 ต้นขา 873 หัวเข่า 874 ขา, น่อง 900 ทั่วร่างกาย 999 ไม่ระบุตำแหน่ง

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย รหัส 2 หลักกลางสำหรับหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย มีเพียง 3 รหัส 77 การบริบาลมารดาและทารกด้วยวิธีการ แพทย์แผนไทย 78 การบำบัดรักษาโรคและอาการด้วยวิธีการ แพทย์แผนไทย 79 การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย รหัสหัตถการที่สามารถทำได้กับหลายอวัยวะหรือหลายส่วนของร่างกาย หรือทำได้ทั้งร่างกาย ในบัญชีรหัสจะพิมพ์รหัส 3 หลักแรกเป็น 900 ซึ่งหมายถึงทั้งร่างกายไว้ก่อน และมีหมายเหตุว่า หมายเหตุ: ในกรณีที่มิได้ทำหัตถการต่อทั้งร่างกายของผู้ป่วย เลือกเปลี่ยนเลขรหัสสามหลักแรกจากเลข 900 เป็นเลขรหัสที่แสดงตำแหน่งอวัยวะซึ่งแพทย์ได้ทำหัตถการนั้น ตามที่ระบุในบัญชีรหัสอวัยวะท้ายส่วนที่สี่นี้

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย ตัวอย่างรหัสหัตถการประคบด้วยสมุนไพร ประคบทั้งร่างกาย ให้รหัส 900-78-20 ประคบเฉพาะหลัง ให้รหัส 590-78-20 ประคบเฉพาะท้อง ให้รหัส 400-78-20 ประคบเฉพาะไหล่ ให้รหัส 721-78-20 ประคบเฉพาะเอว ให้รหัส 871-78-20 ประคบเฉพาะต้นขา ให้รหัส 872-78-20 ประคบเฉพาะเข่า ให้รหัส 873-78-20