รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550
Advertisements

Medication reconciliation
การนำเสนอกิจกรรมคุณภาพ งานสารสนเทศ รพ.บึงกาฬ
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
Risk Management JVKK.
NAVY WATER BED 2012.
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
Medication reconciliation
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
การพัฒนาแนวปฏิบัติเรื่อง การให้เลือดผิดกรุ๊ป และ identify ผู้ป่วยผิดคน
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
ระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
มิ. ย.- ก. ค ปลาย เม. ย.- พ. ค พ. ย HFMD outbreak 2007 from ProMED- mail post พ. ค
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
21/02/54 Ambulatory care.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551 รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551 ** จำนวน รายงานทั้งหมด 273 ฉบับ ** เกิด ADR จำนวน 333 รายการ ** จากยาที่สงสัย จำนวน 295 ตัวยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.7 เกิด ADR ที่ไม่ร้ายแรง โดยผลที่เกิด ADR ส่วนใหญ่ ร้อยละ 85.8 หายเป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม

Ceftriaxone 28 ราย Cefazolin , amoxy 13 ราย Ibuprofen 13 ราย Diclofenac 9 ราย

รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง ** Toxic Epidermal Necrolysis (Ten) จำนวน 0 ราย ** Stevens Johnson Syndrome จำนวน 12 ราย Phenytoin 2 (prodome = 1 ) Carbamazepine 2 Bactrim 1 (prodome = 1 )  Sulperazone inj. 1 Allopurinal 2 (prodome = 2 ) Videx EC GPO-vir AZT

รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง ** Anaphylatic shock จำนวน 6 ราย จากยา augmentin ,cefazolin, cloxacillin, clopidogrel, metronidazole, roxithromycin

ผลลัพธ์หลังจากการเกิด อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

สามารถป้องกันการแพ้ยาซ้ำได้ จำนวน 16 ราย ชื่อผู้ป่วย AN ป้องกันยาที่แพ้ อาการที่เคยแพ้ xxxx 44-31649 Motilium tab Rash 50-03802 Bactrim 44-30018 Clindamycin Angioedema 50-12629 HCTZ 49-56652 paracetamol 49-28378 Mydoclam 50-54856 Ceftriaxone inj Erythematous rash

สามารถป้องกันการแพ้ยาซ้ำได้ จำนวน 16 ราย ชื่อผู้ป่วย AN ป้องกันยาที่แพ้ อาการที่เคยแพ้ xxxx 51-00605 Cloxacillin inj. Rash 50-49972 Augmentin 51-10881 Tramol inj. N/V 51-15814 Ceftriaxone inj. 51-19340 MP rash 51-22676 anaphylaxis 51-20004 Ciprofloxacin rash 51-24822 51-25780 N/V, dyspnea

ระบบการรายงาน ADR

แบบรายงาน แบบรายงาน

บัตรแพ้ยา Phenobarbital ฟีโนบาร์บิทอล ภก. OOO รพ. XXX Maculopapular rash ผื่นแดงกระจายทั่วตัว 2 บัตรแพ้ยา

อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ มีจำนวน 5 ราย รายที่ 1 (วันที่ 21 ตค. 50) ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา sulperazone inj. แต่มีการสั่งใช้ยา Ceftriaxone inj. ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ยา รายที่ 2 (วันที่ 5 มค.51) ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา Amoxycillin แพทย์ไม่ได้สั่งยาที่แพ้ แต่มีการบริหารยานี้ให้ผู้ป่วยอีกครั้ง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการแพ้ซ้ำ

อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ มีจำนวน 5 ราย รายที่ 3 (วันที่ 5 มิย.51) แพทย์สั่งยา Ceftriaxone inj. ที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา แล้วพยาบาลให้ยา stock ward ผู้ป่วยไปก่อน ที่จะถูกตรวจสอบได้โดยห้องยา ทำให้ผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ รายที่ 4 (วันที่ 24 กย.51) แพทย์สั่งยา Ceftriaxone inj. ที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา แล้วห้องยาจ่ายไป เนื่องจากยังไม่ได้ลงข้อมูลแพ้ยาใน computer แต่ลงข้อมูลใน OPD card แล้ว ผู้ป่วยจึงได้รับยาซ้ำ

อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ มีจำนวน 5 ราย รายที่5 ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา Sulperazone inj. (ตั้งแต่ เมย.51) เกิดอาการ SJS ผู้ป่วยมา admit อีกครั้งเดือน ตค.51 และมีการสั่งใช้ยา Sulperazone inj. อีกครั้ง ผู้ป่วยได้รับมาประมาณ 4 วัน เริ่มมีอาการเจ็บปาก และผื่นคันตามผิวหนัง

แนวทางการแก้ไข ให้มีการบ่งบอก / แจ้ง ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ในสติ๊กเกอร์สีเหลือง กับในรายการยา (ใบ request) รณรงค์ให้มีการติด สติ๊กเกอร์แพ้ยา ใน chart ผู้ป่วยทุกครั้ง จัดให้มีการตรวจสอบ การลงข้อมูลประวัติแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ทุกเดือน จัดระบบการส่งต่อรายงานการแพ้ยา ระหว่างโรงพยาบาล

ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา

ผู้ป่วยแพ้ยา ชื่อยา 1............................................... 2............................................... 3.............................................. 4............................................... 5............................................... ผู้บันทึก O แพทย์................................. O เภสัชกร............................. O พยาบาล ..........................

Thank you for your attentions