แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด วันที่ 27 พฤศจิกายน 2556 โรงแรมวรบุรี อโยธยา คอนเวนชั่น รีสอร์ท แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557 ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการได้รับการดูแลอย่างครบวงจร วัตถุประสงค์ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และได้รับอุปกรณ์ที่เหมาะสม พร้อมทั้งการฝึกการใช้อุปกรณ์เฉพาะราย เป้าหมาย คนพิการทุกประเภทเข้าถึงบริการฟื้นฟูฯ และได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมอย่างครอบคลุมและทั่วถึง มีการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง คนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M กองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟู อย่างน้อย 3 ประเภทความพิการต่อเขต
สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556 รายละเอียด ปี 57 1. งบประมาณ งบค่าบริการ/อุปกรณ์ จัดสรรไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/ปชก.UC งบสนับสนุนส่งเสริม จัดสรรไม่เกิน 1.50 บาท/ปชก.UC เกณฑ์คำนวณการจัดสรร 2.1 งบค่าบริการฟื้นฟูฯและอุปกรณ์เครื่องช่วยตามจำนวนปชก.UC : ท.74 : ผลงานการให้บริการ สัดส่วน 30:40:30 2.2 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ตามจำนวนปชก.UC:ท.74 สัดส่วน 50:50 2.3 แยกงบเฉพาะบริการ O&M และจัดสรรเครื่องช่วยฟัง 2. การจัดบริการ 1) บริการเครื่องช่วยฟัง 1.1 กำหนดโควตาให้แต่ละพื้นที่ตามความจำเป็นของความต้องการ และความสามารถในการให้บริการของหน่วยบริการ วงเงินสนับสนุน ร้อยละ 10 ของงบค่าอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูฯ 1.2 โครงการนำร่องโดยความร่วมมือกับ NECTEC เป้าหมาย 1,000 เครื่อง/ พื้นที่เป้าหมาย/หน่วยบริการ คัดเลือกจากหน่วยบริการที่มีความพร้อม ตามความสมัครใจทุกเขต 2) อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ สนับสนุนตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศ และ รายการซ่อมแซม ยกเลิกรายการอื่นๆ ตามความจำเป็น 3. การจัดสรร ค่าบริการ 1) จัดสรรให้หน่วยบริการ ตามผลงานการให้บริการ ภายในวงเงินที่ได้รับ จัดสรร 2 งวด งวดที 1) จัดสรรล่วงหน้า 60% ตามผลงานที่ผ่านมา ภายใน ธค.56 งวดที่ 2) จัดสรรตามผลงานการให้บริการ (คำนวณปิด Global ผลงาน 3 เดือนสุดท้าย ของปี56+9 เดือนของปี57) ภายในเดือน สค.57 2) กรณีรับบริการข้ามเขต - สปสช.เขต ส่งเบิกจากงบส่วนกลาง 3) กำหนดอัตราจ่ายชดเชยค่าบริการ การให้บริการฟื้นฟูรายกลุ่มในแต่ละกิจกรรม
ข้อมูลพื้นที่ ประชากร ผู้สูงอายุ และคนพิการ ณ กรกฎาคม 2556 จังหวัด อำเภอ ตำบล Pop UC สูงอายุ คนพิการ นนทบุรี 6 52 1,172,198 688,691 96,897 12,394 ปทุมธานี 7 60 1,255,409 587,110 71,936 10,829 อยุธยา 16 209 844,382 510,587 87,716 11,672 อ่างทอง 73 262,002 197,981 37,076 5,044 สิงห์บุรี 43 204,314 151,079 29,914 3,722 ลพบุรี 11 124 710,204 512,928 81,458 11,095 สระบุรี 13 111 714,408 446,928 68,913 9,984 นครนายก 4 41 238,331 172,678 29,607 4,962 รวม 70 713 5,401,248 3,272,029 503,517 69,702 ที่มา : ข้อมูลประชากร สปสช.
ข้อมูลคนพิการ ท74 จำแนกประเภท รายจังหวัด ณ ก.ค.56 การมองเห็น การ ได้ยิน การเคลื่อนไหว จิตและพฤติกรรม สติ ปัญญา เรียนรู้ ไม่ ระบุ 1) นนทบุรี 1,150 2,322 4,489 1,738 2,660 513 372 2) ปทุมธานี 573 1,490 3,514 1,479 1,520 144 745 3) พระนครศรีอยุธยา 975 1,586 5,245 1,137 1,778 146 494 4) อ่างทอง 440 813 2,289 555 676 104 216 5) สิงห์บุรี 291 548 1,672 401 441 13 153 6) ลพบุรี 1,220 1,775 4,939 856 1,607 45 234 7) สระบุรี 657 1,746 4,698 618 1,300 103 76 8) นครนายก 430 789 2,251 359 593 59 158 รวม 5,736 11,069 29,097 7,143 10,575 1,227 2,448
ข้อมูลบุคลากรนักกายภาพบำบัด ปี 2556 จังหวัด รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. นนทบุรี 1 5 ปทุมธานี 7 พระนครศรีอยุธยา 14 อ่างทอง 6 สิงห์บุรี 2 4 ลพบุรี 9 สระบุรี 10(ขาด 1) นครนายก 3 รวม 2(100%) 10(100%) 58(ขาด 1)
กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 730.337 ลบ. POP UC = 48.852 ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/657.059 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/73.278 ลบ.) สำหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วย บริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนา องค์ความรู้ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เขต 4 สระบุรี เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 51,658,771 ลบ. POP UC = 3,272,029 ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/41,763,082 บาท) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/4,097,908 บาท) สำหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วย บริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนา องค์ความรู้ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์ การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์ และการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม ผู้สูงอายุ SUB ACUTE คนพิการ ท.74 การให้บริการฟื้นฟู 9 ด้าน การให้บริการกายอุปกรณ์ โดยทีมสหวิชาชีพฟื้นฟูฯ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด พฤติกรรมบำบัด จิตบำบัด การฟื้นฟูการได้ยิน การฟื้นฟูการเห็น การประเมินและแก้ไขการพูด Early Intervention Phenol block อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการทั่วไป อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการราคาสูง 7 รายการ 2501 เครื่องช่วยฟังเด็ก 2502 เครื่องช่วยฟังผู้ใหญ่ 8801 รองเท้าคนพิการขนาดเล็ก 8802 รองเท้าคนพิการขนาดกลาง 8803 รองเท้าคนพิการขนาดใหญ่ 8804 รองเท้าคนพิการขนาดพิเศษ 8805 ค่าดัดแปลงรองเท้าคนพิการ โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์ ภายใน 30 วัน
กิจกรรม รหัส ผู้ปฏิบัติ บุคคล กลุ่ม รายการกิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ สำหรับคนพิการและผู้ป่วยระยะเฝ้าระวัง (Sub acute) กิจกรรม รหัส ผู้ปฏิบัติ บุคคล กลุ่ม กายภาพบำบัด H 9339 นักกายภาพบำบัดเท่านั้น 150 บาท - 2) กิจกรรมบำบัด H 9383 นักกิจกรรมบำบัดเท่านั้น 75 3) การประเมิน/แก้ไขการพูด H 9375 นักแก้ไขการพูดเท่านั้น 4) จิตบำบัด H 9449 จิตแพทย์/นักจิต/พยาบาล ป.โทจิตเวช/ พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช เท่านั้น 300 บาท 150 5) พฤติกรรมบำบัด H 9433 จิตแพทย์/นักจิต/พยาบาล ป.โทจิตเวช/พยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช และนักกิจกรรมบำบัด 6) การฟื้นฟูการมองเห็น H 9378 พยาบาลที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง โดยจักษุแพทย์ 7) การฟื้นฟูการได้ยิน H 9549 นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย 8) Early intervention H 9438 นักกายภาพ/นักกิจกรรม/พยาบาลที่ผ่าน หลักสูตรกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 9) Phenol block H 0489 แพทย์เท่านั้น 500 บาท หมายเหตุ : ขนาดของกลุ่ม = สมาชิกประมาณ 7 – 12 คน
งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ 1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD) และในชุมชน จ่ายตามผลงานการให้บริการ ภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ UC, วดป.ที่ให้บริการ - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.th เท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ อัตราการจ่ายค่าบริการ รายกลุ่ม - กิจกรรมบำบัด ครั้งละ 75 บาท – การแก้ไขการพูด ครั้ง 75 บาท – ฟื้นฟูการเห็น ครั้ง 75 บาท - กระตุ้นพัฒนาการเด็ก ครั้งละ 75 บาท - พฤติกรรมบำบัด ครั้งละ 150 บาท จิตบำบัด ครั้งละ 150 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.2 หน้า 357 - 367
2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (เฉพาะคนพิการ ท 74 เท่านั้น) 2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (เฉพาะคนพิการ ท 74 เท่านั้น) เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช. กำหนด ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซม เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.th เท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8 หน้า 353 - 356
แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 1) การจัดบริการในกรณีปกติ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการ ตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด (เฉพาะหน่วยบริการใหม่) - สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ และรายงานผลหน่วยบริการ ที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก H900, H903, H906, Z461 รหัสหัตถการ 9548 (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก ) ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398
เขต 4 สระบุรี นำร่อง 2 แห่ง คือ แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 2) การจัดบริการในโครงการนำร่อง - เป้าหมายการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 1,000 เครื่อง - พื้นที่/เป้าหมาย หน่วยบริการที่มีความพร้อมและสนใจ คัดเลือกโดย สปสช. ส่วนกลางร่วมกับเขตและประสานหน่วยบริการแจ้งความจำนงเข้าร่วม โครงการ ภายในเดือน ธันวาคม 2556 - หน่วยบริการไม่ต้องสำรองจ่ายเงินก่อน - NECTEC/บริษัทผลิตจัดส่งเครื่องช่วยฟังให้หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ - สปสช. ร่วมกับ NECTEC ติดตามผลการดำเนินงานโครงการนำร่อง เขต 4 สระบุรี นำร่อง 2 แห่ง คือ รพ.พระนั่งเกล้า 2) รพ.ปทุมธานี ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398
หน่วยบริการที่เขาร่วมโครงการและตรวจประเมินแล้ว ปี 56 จังหวัด หน่วยบริการ ประมาณการณ์ เป้าหมาย 57 1) นนทบุรี 1) รพ.พระนั่งเกล้า 867,516 2) สถาบันบำราศนราดูร 2) ปทุมธานี 3) รพ.ปทุมธานี 936,344 3) พระนครศรีอยุธยา 4) รพ.พระนครศรีอยุธยา 465,640 5) รพ.เสนา 4) อ่างทอง 6) รพ.อ่างทอง 352,609 5) สิงห์บุรี 7) รพ.สิงห์บุรี 166,458 8) รพ.อินทร์บุรี 6) ลพบุรี 9) รพ.พระนารายณ์มหาราช 855,879 10) รพ.บ้านหมี่ 11) รพ.อนันทมหิดล 7) สระบุรี 12) รพ.สระบุรี 856,334 13) รพ.พระพุทธบาท 8) นครนายก 14) รพ.นครนายก 397,001 15) ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ 4,897,781
3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว (O&M) เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ เป้าหมาย 3,000 ราย ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 57 มีงบเพียง 900,000 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.3 หน้า 368 - 371
หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฝึกทักษะ OM (ไม้เท้าขาว) จังหวัด หน่วยบริการ ศูนย์ฝึก(แห่ง) ครูฝึก (คน) ผลงาน เป้า 57 1) นนทบุรี 1) ศูนย์สิรินธรฯ 1 4 53 2) รพ.ชลประทาน 2 2) ปทุมธานี 3) รพ.ปทุมธานี 4) คลินิกมิตรไมตรี 3) พระนครศรีอยุธยา 5) รพ.พระนครศรีอยุธยา 60 6) รพ.วังน้อย 5 7) รพ.ลาดบัวหลวง 4) อ่างทอง 8) รพ.อ่างทอง 5) สิงห์บุรี 9) รพ.อินทร์บุรี 30 10) รพ.ค่ายบางระจัน 6) ลพบุรี 11) รพ.ลำสนธิ 340 7) สระบุรี 12) รพ.พระพุทธบาท 13) รพ.บ้านหมอ 15 14) รพ.หนองแซง 10 15) รพ.หนองโดน 23 8) นครนายก 16) รพ.นครนายก
กรอบระยะเวลาการจัดสรรงบ งวดที่ 1 จัดสรรล่วงหน้า 60% ภายในเดือน ธค.56 ประมาณการจากผลงานการให้บริการในปีที่ผ่านมา งวดที่ 2 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.57 ใช้ผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 56 และผลงาน 9 เดือน ของปี 57 ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 166 - 171
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ครอบคลุมกิจกรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน เขตทำข้อตกลงกับจังหวัด จ่ายเงินครั้งเดียว องค์กรคนพิการ ทำข้อตกลงกับจังหวัด งบนี้ไม่รวมกับกองทุน อบจ. ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 172 – 173 และ ผนวก 8.4,8.5 หน้า 372-377
แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมหน่วยบริการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายและวงเงินสนับสนุน.....เน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 1) ศูนย์สุขภาพชุมชน/คลินิกชุมชนอบอุ่น/ รพ.สต. โครงการละ ไม่เกิน 30,000 – 50,000 บาท 2) รพช. โครงการละไม่เกิน 100,000 – 300,000 บาท ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของ อปสข. ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี ขอบเขตการดำเนินโครงการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยะระดับแบบผสมผสาน เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 7 ประเภทความพิการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยกระดับบริการที่บ้านและในชุมชน ร่วมกับ อปท. ทำให้เกิดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลคนพิการและสามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.4, หน้า 372 - 374
แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมองค์กรคนพิการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายองค์กรที่สนับสนุน องค์กรของผู้บกพร่องทางการมองเห็น องค์กรของผู้บกพร่องทางการได้ยิน องค์กรของผู้บกพร่องทางการเคลื่อนไหว องค์กรของผู้บกพร่องทางจิตใจหรือพฤติกรรม องค์กรของผู้บกพร่องทางสติปัญญา องค์กรของผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ องค์กรของผู้บกพร่องบุคคลออทิสติก ขอบเขตการดำเนินโครงการ ครอบคลุมการจัดอบรมหรือบริการในรูปแบบการฝึกอบรมทักษะการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการหรือการดูแลช่วยเหลือคนพิการในแต่ละประเภท วงเงินสนับสนุน (องค์กรฯในพื้นที่หรือภายในจังหวัด) งบประมาณไม่เกินโครงการละ 100,000 บาท ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี อย่างน้อย 3 ประเภท ความพิการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.5 หน้า 375 - 377
การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาระบบบริการ ปี 2557 จังหวัด จัดสรร(บาท) หมายเหตุ 1) นครนายก 252,520 2) นนทบุรี 798,156 3) ปทุมธานี 690,665 4) พระนครศรีอยุธยา 661,906 5) ลพบุรี 647,126 6) สระบุรี 572,804 7) สิงห์บุรี 203,435 8) อ่างทอง 271,296 รวม 4,097,908
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด จัดสรรงบให้กองทุนตามจำนวน ปชก.UC ของจังหวัด ในสัดส่วนที่เท่ากัน (จากงบอุปกรณ์/บริการฟื้นฟูฯ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูฯ) กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด เน้น - สนับสนุนให้มีศูนย์ผลิต และซ่อมกายอุปกรณ์ - การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรคนพิการ - สนับสนุนการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนและคุณภาพชีวิต การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.6 หน้า 378 - 389
การจัดตั้งกองทุนฟื้นฟุสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 นนทบุรี 2) ปทุมธานี 3) พระนครศรีอยุธยา 1 4) อ่างทอง 5) สิงห์บุรี 6) ลพบุรี 7) สระบุรี 8) นครนายก 4 6
การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ
ข้อมูลการกำกับติดตาม รายการ แหล่งข้อมูล 1. บริการฟื้นฟูฯ และการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ excel file 3. งบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟู รายงานผลงานตามสัญญา/ข้อตกลง/โครงการ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 4. ติดตามการใช้จ่ายงบกองทุน Budget report
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI Target 1 ร้อยละของการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 90% 2 ร้อยละสะสมของคนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M 13% (100 ราย) 3 จำนวนกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด ที่มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด 4 องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟูอย่างน้อย 3 ประเภทความพิการ/เขต ทุกเขต
หนักเท่าไหร่? เราก็จะต้องช่วยกัน ขอบคุณครับ