Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
บรรยากาศ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
กาแล็กซีและเอกภพ.
พลังงานลม.
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ 41 และที่มองไม่เห็นร้อยละ 50

สมดุลพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานคลื่นสั้นที่ตกกระทบผิวโลก เท่ากับ 47 ส่วน แบ่งเป็น พลังงานจากลำแสงอาทิตย์โดยตรง 31 ส่วน จากพลังงานแสงอาทิตย์ที่เกิดจากการกระจายแสงในบรรยากาศ 16 ส่วน

ฤดูกาล (Climate) ความแตกต่างของระยะห่างระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ในวงโคจรไม่ใช่ปัจจัยหลักที่ทำให้รังสีดวงอาทิตย์ตกกระทบโลกเปลี่ยนไปได้มากจนทำให้เกิดฤดูกาล ฤดูกาลในโลกเป็นผลจาก 1. การเบี่ยงเบนของระนาบของอิเควเตอร์ของโลก (Equatorial Plane) ไปจากระนาบการหมุน (Orbital Plane) และ 2. การวางตัวของแกนหมุนของโลกในอวกาศในขณะที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ แกนหมุนของโลกนี้วางตัวเป็นมุม 23◦27’ (หรือ 23.45◦) กับวงโคจรตลอดเวลา ดังนั้นตำแหน่งดวงอาทิตย์ที่ปรากฏในท้องฟ้าในแต่ละวันของแต่ละตำแหน่งบนโลกจะแปรเปลี่ยนตลอดปี

(Atmospheric Pressure) ความกดอากาศ (Atmospheric Pressure) มวลอากาศ อากาศมีลักษณะเป็นโมเลกุลและมีน้ำหนัก มวลอากาศที่อยู่บนจะกดทับ มวลอากาศที่อยู่ด้านล่างเป็นความกดของอากาศ มวลอากาศในที่สูงและอุณหภูมิสูงกว่าจะมีมวล อากาศเบาบางความกดน้อย มวลอากาศที่อยู่ในที่ต่ำจะได้รับการกดทับเกิดเป็นเขตความกดสูง

ลม (WIND) ลม คืออากาศการที่เคลื่อนที่จากที่มีความกดสูงไปยังที่มีความกดอากาศต่ำกว่า เพื่อปรับระดับความแตกตางของความกดอากาศให้สมดุล บริเวณความกดต่ำเป็นเขตที่มีความปรวนแปรของลมสูงมาก ตรงข้ามกับศูนย์กลางของความกดสูง จะมีท้องฟ้าแจ่มใส ลมสงบ

กระแสน้ำในมหาสมุทร ลมประจำ เป็นลมที่พัดอยู่ประจำตลอดทั้งปีใน ทิศทางเดียวจากหย่อมความกดสูงสู่หยอมความกดต่ำเป็นสาเหตุสำคัญที่พัดผิวน้ำทำให้เกิดกระแสน้ำขนาดใหญ่ ไหลวนไปตามทิศทางของลมด้วย ความหนาแน่น ระดับความเค็มและอุณหภูมิของน้ำบ่งบอกความหนาแนน เขตที่มีการระเหยสูงทำให้ค่าความเค็ม และ ความหนาแน่นมากมักจมตัวลงเบื่องลางผลักดันให้น้ำด้านล่างไหลเวียนขึ้น ความเย็น เป็นสึ่งเพิ่มความหนาแน่น ก้อนน้ำแข็งจะแยกความเค็มของน้ำเพราะเป็น การเพิ่มความเค็มของน้ำที่เหลืออยู่เป็นมวลน้ำที่มีความหนาแน่นสูง

กระแสน้ำในมหาสมุทร