วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สมบัติของสารและการจำแนก
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
หินแปร (Metamorphic rocks)
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
โดย นางนพวรรณ จักษุสุวรรณ
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
สารกัดกร่อน.
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
อาหารปลอดภัยด้านประมง
ปิโตรเลียม.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดย นางอังศนา มาทอง โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ

สมบัติของสารและการจำแนก สสาร (Matter)  หมายถึง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวของเรา ซึ่งเราสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาททั้ง  5  มีมวล มีรูปร่าง มีปริมาตร ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ ตัวอย่างสารที่อยู่รอบๆตัวเรา เช่น น้ำ เงิน   ทองคำ ทองแดง เหล็ก น้ำมันเชื้อเพลิง เกลือแกง น้ำปลา หิน ทราย  คอนกรีต ปูนซีเมนต์ ออกซิเจน หมอก เป็นต้น

สมบัติของสาร สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะ เฉพาะของสารชนิดนั้นๆ ซึ่งสามารถบ่งบอกว่าสารนั้นคืออะไร เพราะสารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่เหมือนกันทุกประการ จำแนกหรือจัดหมวดหมู่ของสาร โดยอาศัยสมบัติต่างๆ ของสารเป็นเกณฑ์ เช่น การนำไฟฟ้า สี สถานะ องค์ประกอบทางเคมีของสาร การละลาย ลักษณะเนื้อของสาร ขนาดอนุภาค เป็นต้น

ใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดจำแนกได้ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง  มีรูปร่างและปริมาตรที่คงที่แน่นอน ของเหลว  มีปริมาตรคงที่ แต่รูปร่างเปลี่ยนไปตาม ภาชนะที่บรรจุ ก๊าซ  มีปริมาตรและรูปร่างไม่คงที่ จะเปลี่ยนไป และฟุ้งกระจายตามภาชนะที่บรรจุ  

ใช้การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ แบ่งสารได้เป็น 2 กลุ่ม คือ สารที่ละลายน้ำ เช่น เกลือแกง น้ำตาลทราย น้ำตาลกลูโคส  กรดอะซิติก แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สแอมโมเนีย เป็นต้น สารที่ไม่ละลายน้ำ  เช่น น้ำมันพืช แป้ง หินปูน พลาสติก  เหล็ก ไม้ ยาง คาร์บอน น้ำมันเชื้อเพลิง เป็นต้น

ใช้การนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ สารที่นำไฟฟ้า เช่น น้ำ เหล็ก เงิน อะลูมิเนียม เป็นต้น สารที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น ผ้า น้ำบริสุทธิ์ พลาสติก ไม้แห้ง ยาง เป็นต้น

ใช้ความเป็นกรดและเบสเป็นเกณฑ์ กรด (Acid) มีค่าpH น้อยกว่า 7 เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีจากน้ำเงินเป็นแดง ตัวอย่างของกรดที่พบบ่อย ได้แก่ กรดมะนาว กรดน้ำส้มสายชู กรดกำมะถัน เบส (Base) มีค่า pH มากกว่า 7 ทดสอบกับกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน