การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน กระทรวงการต่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
รายงานสรุปผลการประชุมระหว่างทูต CEO กับผู้ว่าฯ CEO
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การดำเนินงานตามกฎหมายป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
รอบรู้อาเซียน.
การค้ามนุษย์.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
ประชาคมอาเซียน.
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
การเชื่อมโยงการค้าอาเซียนขีนผ่านกรอบการค้า เสรี หรือ fta ก่อให้เกิดผลดีผลเสียต่อ ผู้ประกอบการไทยอย่างไร สถานการณ์และรูปแบบที่ทุนจีนเข้ามาลงทุนใน ไทยเป็นอย่างไร.
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สรุปการประชุมระดมความคิด
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ของกระทรวงพาณิชย์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
1 การพัฒนาระบบการ ปฏิบัติงาน ของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( นาง ไพเราะ สุดสว่าง ) วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน กระทรวงการต่างประเทศ สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 2 มิถุนายน2553

ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทย (Official Development Assistance-ODA)  ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan)  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)

หน่วยงานดำเนินงาน -สนง.พัฒนาเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน - สพพ.  ความร่วมมือทางการเงิน (Soft Loan) -สนง.พัฒนาเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน - สพพ. Neighboring Countries Economic Development Agency - NEDA  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation) - สนง.ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ – สพร. Thailand International Development Cooperation Agency - TICA

ภารกิจหลักในการบริหารงานความร่วมมือฯ ของ สพร. ให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาต่างๆ หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี การบริหารงานให้ความช่วยเหลือหรือความร่วมมือเพื่อการพัฒนากับต่างประเทศนั้น ประกอบด้วย 4 ภารกิจหลัก คือ การบริหารงานให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาต่าง ๆ การบริหารงานหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ การอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ภารกิจทั้งสี่ข้างต้นจะช่วยสนับสนุนและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความร่วมมือของภูมิภาคและประสานการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ พร้อมทั้งสร้างความเป็นเลิศด้านวิชาการในระดับภูมิภาคให้กับหน่วยงานไทยเพื่อความร่วมมือกับต่างประเทศบนพื้นฐานเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy - KBE) สู่การพัฒนาแบบยั่งยืน

ภารกิจหลักในการบริหารงานความร่วมมือฯ ของ สพร. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ อำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา การบริหารงานให้ความช่วยเหลือหรือความร่วมมือเพื่อการพัฒนากับต่างประเทศนั้น ประกอบด้วย 4 ภารกิจหลัก คือ การบริหารงานให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาต่าง ๆ การบริหารงานหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ การอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ภารกิจทั้งสี่ข้างต้นจะช่วยสนับสนุนและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความร่วมมือของภูมิภาคและประสานการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ พร้อมทั้งสร้างความเป็นเลิศด้านวิชาการในระดับภูมิภาคให้กับหน่วยงานไทยเพื่อความร่วมมือกับต่างประเทศบนพื้นฐานเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy - KBE) สู่การพัฒนาแบบยั่งยืน

นโยบายการให้ความร่วมมือทางวิชาการของ สพร. ที่มาของนโยบาย

ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา มติ ครม. นโยบายรัฐบาล ด้านการต่างประเทศ/ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ตาม กรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา นโยบายของ ประเทศคู่ร่วมมือ คณะกรรมการนโยบาย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ

นโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทย ส่งเสริมโอกาสการพัฒนาขีดความสามารถเชิงวิชาการของหน่วยงานไทย แลกเปลี่ยนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ วิชาการ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ไทย - ต่างประเทศ

กลไกการดำเนินงานความร่วมมือฯ กับประเทศเพื่อนบ้าน การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือ (Joint Commission) การประชุมความร่วมมือวิชาการประจำปี (Annual Consultation) กลไกในการดำเนินงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา การดำเนินงานแผนงาน/โครงการ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ภายใต้กรอบความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการพัฒนานั้น สพร. ในฐานะหน่วยงานหลักในการดำเนินงานความร่วมมือได้คำนึงทั้งนโยบายของประเทศคู่ร่วมมือและประเทศไทยผ่านทาง กลไกการประชุมความร่วมมือประจำปี ตลอดจนการประชุมคณะกรรมธิการร่วม (Joint Committee) ในการพัฒนาแผนงาน/โครงการความร่วมมือต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะเป็นโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศคู่ร่วมมืออย่างแท้จริง (Demand Driven) โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพ (Capacity building) ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศคู่ร่วมมือ

แนวทางการดำเนินงานการให้ความร่วมมือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาสถาบัน สนับสนุนการดำเนินงานในรูปแผนงาน/โครงการให้เกิดผลเป็นรูปธรรม พัฒนาความร่วมมือลักษณะหุ้นส่วน - แหล่งผู้ให้ : Partnership, Trilateral - ประเทศคู่ร่วมมือ : พัฒนาไปด้วยกัน

แนวทางการดำเนินงานการให้ความร่วมมือ คำนึงถึงความสามารถและความต้องการเร่งด่วนของประเทศคู่ร่วมมือ ประโยชน์ร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายประเทศคู่ร่วมมือ

ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ พ.ศ.2550-2554 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารายประเทศ (CLMV) และภายใต้กรอบ ACMECS พ.ศ. 2551-2554 ร่างยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย - แอฟริกา และไทย - เอเชียกลาง พ.ศ. 2552-2554

ประเภทของความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ผู้เชี่ยวชาญ ทุนศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงาน วัสดุ/อุปกรณ์ อาสาสมัครเพื่อนไทย(Friend from Thailand)

รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ความร่วมมือแบบทวิภาคี (Bilateral Programme - แผนงาน (Country Program) - โครงการเต็มรูป หลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (Annual International Training Courses: AITC)

รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 3. หลักสูตรศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรนานาชาติประจำปี (Thai International Postgraduate Programme: TIPP) 4. ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation among developing Countries: TCDC) 5. ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประแทศจัดหลักสูตรศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานในประเทศไทย (Third Country Training Programme: TCTP)

6. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา เกษตรและพัฒนาชนบท ศึกษา สาธารณสุข ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน

6. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา พัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน ส่งเสริมการท่องเที่ยว

ความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเป้าหมายในภูมิภาคต่างๆ กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มประเทศในเอเชียและแปซิฟิก กลุ่มประเทศแอฟริกา กลุ่มประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง

กลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาค กลุ่มประเทศยากจน กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างดี และใกล้เคียงกับไทย หรือดีกว่า คณะกรรมการนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการกับต่างประเทศ ครั้งที่ 1/2548 วันที่ 10 ส.ค. 2548 เห็นชอบกับการจัดลำดับกลุ่มประเทศเป้าหมายในการให้ความร่วมมือทางวิชาการ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ (ตาม slide ข้างบน) รายละเอียดจะอยู่ใน slide หน้าถัดไป

กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า กลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกับไทย ได้แก่ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ประเทศเกิดใหม่ในภูมิภาค คือ ติมอร์ เลสเต้ คณะกรรมการนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการกับต่างประเทศ ครั้งที่ 1/2548 วันที่ 10 ส.ค. 2548 เห็นชอบกับการจัดลำดับกลุ่มประเทศเป้าหมายในการให้ความร่วมมือทางวิชาการ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ (ตาม slide ข้างบน) รายละเอียดจะอยู่ใน slide หน้าถัดไป

รูปแบบของความร่วมมือฯ กลุ่มประเทศยากจน - ไทย เป็น ผู้ให้ - ไทย ร่วมกับแหล่งผู้ให้อื่น กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจดี ใกล้เคียงกับไทย หรือ ดีกว่า - ร่วมกันออกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานร่วมกัน

กรอบความร่วมมือที่สำคัญ Colombo Plan GMS MGC ACMECS ASEAN IMT-GT BIMST-EC ทั้งนี้ สพร. ดำเนินงานงานความร่วมมือทางวิชาการในกรอบความร่วมมือที่สำคัญต่าง ๆ เช่น IMT-GT, ACMECS, GMS, MGC, ASEAN, BIMSTEC, ACD, ASEM, APEC, NEPAD, CP ฯลฯ

เหตุผลของการให้ความร่วมมือ พันธะต่อประชาคมโลก - ประเทศที่มีความพร้อมและเข้มแข็งช่วยเหลือประเทศที่ยังขาดแคลนและยากจน - ข้อผูกพันต่อการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ

เหตุผลของการให้ความร่วมมือ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามแนวชายแดน แก้ไขวิกฤติและลดปัญหาความยากจนของประเทศที่กำลังพัฒนา

ประโยชน์ ที่ไทยได้รับจากการให้ความร่วมมือฯ ส่งเสริมบทบาทของไทยในภูมิภาคต่างๆ ความไว้วางใจและความเชื่อมั่นที่มีต่อไทย เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ และความมั่นคง

ประโยชน์ ที่ไทยได้รับจากการให้ความร่วมมือฯ การยอมรับจากประชาคมนานาชาติ การสร้างเครือข่ายมนุษย์ระหว่างกัน

ความร่วมมือฯ ไทย กับ CLMV มูลค่าความร่วมมือฯ ในปี 2552 207.89 ล้านบาท ปี 2553 127 ล้านบาท ความร่วมมือในกรอบทวิภาคี โครงการตามพระราชดำริ ความร่วมมือในกรอบไตรภาคี ความร่วมมือในกรอบ ACMECS, GMS 1. ไทยให้ความร่วมมือกับลาวในด้านการเกษตรหลากหลายสาขา ด้านสาธารณสุขและการศึกษารวมทั้งการบริหารจัดการ ซึ่งไทยมีศักยภาพเช่นกัน โดยในปี 2548 มีมูลค่าความร่วมมือประมาณ 50.14 ล้านบาท 2. โครงการตามพระราชดำริ 6 โครงการ - โครงการศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร - โครงการการฝึกอบรมเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข - โครงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับเจ้าแขวงลาว - โครงการ Capacity Building in Environmental Toxicology for Chemical Safety Management and Environment Protection in Lao PDR - โครงการส่งเสริมกิจกรรมฝึกอาชีพโรงเรียนวัฒนธรรมแขวงนครเวียงจันทน์ - โครงการความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในกลุ่มประเทศเอเชียและแปซิฟิก 3. ความร่วมมือในกรอบไตรภาคีและภูมิภาค ในปี 2548 มีผู้รับทุนจากลาว จำนวน 31 คน 4. ความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือ ACMECS มีความร่วมมือในรูปทุนฝึกอบรม/ ดูงาน รวม 6 หลักสูตรด้านการพัฒนาระบบการป้องกันศัตรูพืช OTOP การจัดการ IT และระบบข้อมูล การจัดการมรดกโลกและด้านอุตสาหกรรมและการแข่งขันในยุคโลกาภิวัฒน์ รวมทั้งโครงการพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนเทคนิคแขวงสะหวันนะเขต ไทยให้ทุนศึกษาแก่นักศึกษาจำนวน 40 คนและอยู่ระหว่างการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียน

ความร่วมมือฯ ไทย กับ CLMV โครงการพัฒนา 42 โครงการ ทุนศึกษา ทุนฝึกอบรม/ดูงาน ปี 2552 162 609 ปี 2553 150 300 1. ไทยให้ความร่วมมือกับลาวในด้านการเกษตรหลากหลายสาขา ด้านสาธารณสุขและการศึกษารวมทั้งการบริหารจัดการ ซึ่งไทยมีศักยภาพเช่นกัน โดยในปี 2548 มีมูลค่าความร่วมมือประมาณ 50.14 ล้านบาท 2. โครงการตามพระราชดำริ 6 โครงการ - โครงการศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร - โครงการการฝึกอบรมเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข - โครงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับเจ้าแขวงลาว - โครงการ Capacity Building in Environmental Toxicology for Chemical Safety Management and Environment Protection in Lao PDR - โครงการส่งเสริมกิจกรรมฝึกอาชีพโรงเรียนวัฒนธรรมแขวงนครเวียงจันทน์ - โครงการความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในกลุ่มประเทศเอเชียและแปซิฟิก 3. ความร่วมมือในกรอบไตรภาคีและภูมิภาค ในปี 2548 มีผู้รับทุนจากลาว จำนวน 31 คน 4. ความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือ ACMECS มีความร่วมมือในรูปทุนฝึกอบรม/ ดูงาน รวม 6 หลักสูตรด้านการพัฒนาระบบการป้องกันศัตรูพืช OTOP การจัดการ IT และระบบข้อมูล การจัดการมรดกโลกและด้านอุตสาหกรรมและการแข่งขันในยุคโลกาภิวัฒน์ รวมทั้งโครงการพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนเทคนิคแขวงสะหวันนะเขต ไทยให้ทุนศึกษาแก่นักศึกษาจำนวน 40 คนและอยู่ระหว่างการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียน

ปัญหา/ อุปสรรค 1. แผนงาน - แผนเงิน 2. ต่างคนต่างทำ 3. Absorptive Capacity แผนการปฏิบัติงานและแผนการจัดสรรงบประมาณยังไม่สอดคล้องกัน ในทุกขั้นตอนของการวางแผน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานความร่วมมือควรจะต้องมีการวางแผนด้านงบประมาณควบคู่กันไปด้วยเสมอ จึงเป็นการจัดการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Management for Development Results) อย่างแท้จริง และจะต้องมีหน่วยงานที่ดูแลงบประมาณ เช่นสำนักงบประมาณเข้าร่วมการประชุมหารือเกี่ยวกับการวางแผนงานทุกวาระ เพื่อให้มีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ (Participation) เพื่อให้มีความเข้าใจถึงความสำคัญและความจำเป็นในการใช้งบประมาณเพื่อการลงทุนด้านการพัฒนา การให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทยยังไม่มีเอกภาพ จะต้องประสานงานและปรึกษาหารือระหว่างหน่วยงานต่างๆ กับกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อให้การบริหารงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาให้เป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมและเกิดผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ กระทรวงการต่างประเทศจำเป็นจะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานไทยทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันจัดทำแผนการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาในระดับชาติ เพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นหลักในการดำเนินงานที่สอดคล้องกันและมีทิศทางเดียวกัน(Harmonization) ในการให้ความร่วมมือแก่ประเทศกำลังพัฒนาต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ศักยภาพในการรับความร่วมมือของประเทศคู่ร่วมมือ (Absorptive capacity) มีการกำหนดกลยุทธ์หรือท่าทีให้เหมาะสมกับประเทศผู้รับความร่วมมือ ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนความร่วมมือและมีการพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการ (Capacity building) ควบคู่ไปกับการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา เพื่อให้ประเทศผู้รับมีความรู้สึกในการเป็นเจ้าของโครงการ (Ownership) และสามารถที่จะดำเนินงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปได้ด้วยตัวเอง

งบอุดหนุนงานให้ความร่วมมือฯ ล้านบาท 900 810 ขอจัดสรร 800 ได้รับอนุมัติ 700 581 600 543 547 509 511 480 468 500 422 370 400 345 296 280 300 235 162 200 147 100 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

การดำเนินงานในอนาคต

เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา สภาพัฒน์ฯ ได้ให้ความสำคัญเรื่อง “คน” เป็นอย่างยิ่งและใช้เป็นหลักในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยในแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติฉบับที่ 9 และ10 โดยถือเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม เนื่องจากการพัฒนาคนเป็นจุดเริ่มต้นของความเจริญทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนกว่าการพัฒนาด้านวัตถุหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ สพร. ได้สอดแทรกการดำเนินงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุกภารกิจหลักของสพร. โดยยึดหลักยุทธศาสตร์การพัฒนา “คน” ของสภาพัฒน์ฯ มาเป็นกลยุทธ์ในการดำเนินงานเนื่องจากได้ตระหนักถึงความสำคัญของคนหรือบุคลากรของประเทศกำลังพัฒนา ว่า “คนย่อมเป็นรากฐานของการพัฒนา” จึงได้เน้นเรื่องการยกระดับขีดความสามารถของบุคลากรทั้งในประเทศไทยและประเทศกำลังพัฒนาที่ไทยให้ความช่วยเหลือเพื่อให้บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแล้วสามารถใช้ความรู้ความสามารถไปประยุกด์ใช้ในการพัฒนาทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและสามารถนำไปสู่การเป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศ (Center of Excellence) ในแต่ละประเทศต่อไปได้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศเพื่อนบ้านจึงถือได้ว่าเป็นการลงทุนในระยะยาว เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในประเทศผู้รับมีขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศผู้รับได้ในระยะยาว

แผนงาน -แผนงานความร่วมมือด้านการศึกษา ไทย-ลาว -แผนงานความร่วมมือไทย-เวียดนาม ประสานแผนงาน/กิจกรรม Public - Private Partnership

กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV) โครงการพัฒนาโรงพยาบาลแขวงบ่อแก้ว

โครงการพัฒนาระบบสาธารณสุขในเขตโพนโฮง

โครงการทักษะฝีมือแรงงาน - กัมพูชา

โครงการสอนภาษาไทยในเวียดนาม

ขอบคุณ