การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ ของกรมชลประทาน โดย อาจารย์จิรัชฌา วิเชียรปัญญา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

The Power of Communication
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แนวทางการจำการความรู้ กรมอู่ทหารเรือ
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KM AAR.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
Knowledge Management (KM)
Learning Organization
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
Communities of Practice (CoP)
Benchmarking.
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
Spirit of SURVEY By Sompong Wongchai. ปรัชญา 3S สรธ. โดย ท่าน ชัชวาล ปัญญาวาทีนันท์ ( รธว.) Service mind Standard Success.
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
โครงการศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้วย การเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ของ สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหาร คณะครู และ บุคลากร โรงเรียนหาดใหญ่อำนวยวิ ทย์บริหารธุรกิจ และ โรงเรียนหาดใหญ่อำนวย วิทย์พณิชยการ ศึกษาดูงานการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ ของกรมชลประทาน โดย อาจารย์จิรัชฌา วิเชียรปัญญา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต กรมชลประทาน 7 ธันวาคม 2549

การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ในองค์กร  การบริหารองค์กรเชิงยุทธศาสตร์  การเริ่มต้นการจัดการความรู้  การมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ ของบุคลากรภายในองค์กร

การบริหารองค์กรเชิงยุทธศาสตร์  แผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) แผนที่ที่แสดงให้เห็นถึงความต้องการที่จะตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ ขององค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการจำแนกจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัด แล้วแปลงให้เป็นแผนดำเนินการที่มีศักยภาพและมีความเป็นไปได้  วิเคราะห์ความต้องการและประเมินศักยภาพขององค์กร  กำหนดทิศทางขององค์กร  แปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์และพันธกิจ การกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ การกำหนดกลยุทธ์เพื่อบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ การกำหนดสมรรถนะหลักขององค์กร ซึ่งจะทำให้องค์กรมีความสามารถ ในการแข่งขัน สมรรถนะหลักของหน่วยงาน (Business Unit / Function Competency) สมรรถนะของบุคคล (Personal Competency)

สมรรถนะหลักขององค์กร Core Knowledge Core Competency

การเริ่มต้นการจัดการความรู้ ✰ Making Knowledge Visible ✰ Building Knowledge Intensity ✰ Developing Knowledge Culture ✰ Building a Knowledge Infrastructure

1. Making Knowledge Visible Easy Usability  Who know what  Taxonomy of Expertise  Yellow Pages  Competence

2. Building Knowledge Intensity Local Creation  Training, Face-to-face Contacts  Community of Practices  Management of Knowledge Processes  Networking  Competence / Excellence Center

3. Developing Knowledge Culture Motivation Enablers  Value and Culture  Rewarding  Sharing / Exchange of Knowledge  Shared Mindsets and Visions  Trust of Each Other

4. Building a Knowledge Infrastructure Global Access  Common Communication Infrastructure  Access to External / Internal Information / Knowledge / Sources  Use of Modern Methods and Tools

แผนปฏิบัติงานการจัดการความรู้ 1. แผนสื่อสารการจัดการความรู้ทั่วทั้งองค์กร 2. แผนการสร้างความรู้ 3. แผนพัฒนาคลังความรู้ 4. แผนการถ่ายทอดความรู้ 5. แผนการพัฒนาเครือข่ายการแลกเปลี่ยนความรู้

แนวทางในการดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะทำงาน / ผู้รับผิดชอบโครงการ 2. ให้ความรู้เรื่อง “การจัดการความรู้” แก่ผู้บริหาร ผู้ที่เกี่ยวข้องและ บุคลากรในทุกระดับ 3. สื่อสารเรื่อง “การจัดการความรู้ของกรมฯ” ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 4. จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ 5. สร้างกระแสให้เกิดการใช้และการแบ่งปันความรู้ให้เกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กร 6. ประชาสัมพันธ์ ติดตามผล และรายงานกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้บริหารได้รับทราบ 7. มีการกำหนดเกณฑ์การให้รางวัลตามความเหมาะสม

กิจกรรมการจัดการความรู้ เป้าหมายการจัดการความรู้ กิจกรรมการจัดการความรู้ พัฒนางาน จัดทำคู่มือการทำงาน จัดทำ Best Practices พัฒนาคน สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้ การเรียนรู้และฝึกอบรม พัฒนาฐานความรู้ คลังความรู้ (Knowledge Asset) กรณีศึกษา (Case-based) การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) บทเรียนการเรียนรู้ (Lesson learned) ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ (Expert)

การวัดผลการจัดการความรู้ Process Measurements 1. จำนวนครั้งของการเข้าเยี่ยมชม web site 2. จำนวนครั้งของการใช้ความรู้ประเภทต่าง ๆ Output Measurements 1. จำนวนความรู้ที่จัดเก็บ 2. จำนวนกรณีศึกษาที่จัดเก็บ 3. จำนวน Best Practice ที่จัดเก็บ 4. จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 5. จำนวนสมาชิกในชุมชนการปฏิบัติ

การมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ของ บุคลากรภายในองค์กร  บุคคล  ทีม  องค์กร

คน VS ความรู้ มี (Have) ไม่มี (Don’t Have) รู้ (Know) ไม่รู้ (Don’t ความรู้ที่เป็นทางการ (Explicit knowledge) “รู้ว่ามีความรู้” (Sharing) ช่องว่างของความรู้ (Knowledge Gaps) “รู้ว่าไม่มีความรู้” (Gathering) “ไม่รู้ว่ามีความรู้” (Capturing) ช่องว่างของความไม่รู้ (Unknown Gaps) “ไม่รู้ว่าไม่มีความรู้” (Developing) รู้ (Know) ไม่รู้ (Don’t know)

การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)  ชุมชนการปฏิบัติ (Communities of Practice - COP) กลุ่มคนที่มีความสนใจร่วมกันมารวมกลุ่มกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการแบ่งปันความรู้และแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งก่อให้เกิดการ ถ่ายโอนความรู้ขององค์กรหรือชุมชน

KM Framework: Work Models (Outlook, 1990) Collaborative Groups Integration Model Collaborative Model --Systematic, repeatable work --Highly reliant on formal process methodologies or standard --Dependent on tight integration across functional boundaries --Improvisational Work --Highly reliant on deep expertise across multiple functions --Dependent on fluid deployment of flexible teams Level of Interdependence Transition Model Expert Model --Routine work --Highly reliant on formal rules, and training --Dependent on low-discretion workforce or automation --Judgment-oriented work --Highly reliant on individual expertise and experience --Dependent on star performs Individual Actors Complexity of Work Routine Interpretation/Judgment

KM Framework: Challenges (Outlook, 1990) Collaborative Groups Integration Model Collaboration Model “Orchestrating across function” “Achieving breakthrough innovation” Level of Interdependence Transaction Model Expert Model “Consistent, low-cost performance” “Getting results from stars” Individual Actors Complexity of Work Routine Interpretation/Judgment

KM Framework: Strategies (Outlook, 1990) Collaborative Groups Integration Model Collaboration Model 1. Integrated processes 2. Integrated teams 3. Best practice benchmarking 1. Strategic framing 2. Knowledge linking 3. Action learning Level of Interdependence Transaction Model Expert Model 1. Routinization 2. Automation 3. Production 1. Experienced hiring 2. Apprenticeships / development 3. Capability protection 4. Financial management Individual Actors Complexity of Work Routine Interpretation/Judgment

เราต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย ✰ IT IS NOT ENOUTH TO STARE UP THE STEPS WE MUST STEP UP THE STAIRS  เพียงจ้องมองบันไดยังไม่พอ เราต้องก้าวขึ้นบันไดด้วย