Computer Number System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Advertisements

ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
BC320 Introduction to Computer Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
CS Assembly Language Programming
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Number Representations
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
Computer Coding & Number Systems
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
อาจารย์สายสุนีย์ เจริญสุข
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ระบบเลขฐาน.
หน่วยที่ 2 ระบบตัวเลข.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ปัญหา คิดสนุก.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Number System บทที่ 2 ระบบเลขจำนวน Computer Number System BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming เนื้อหา ฐานของระบบเลข ระบบเลขฐานสิบ ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปด ระบบเลขฐานสิบหก โครงสร้างข้อมูล BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ฐานของระบบเลข ให้ B เป็นฐานของเลขหลัก 0 คือเลขหลักที่น้อยที่สุด B-1 คือเลขหลักโตที่สุดที่จะใช้ได้ในระบบเลขฐาน B เลขฐาน B จะมีเลขโดดที่ใช้ได้ทั้งหมด B ตัวคือ 0,1,2,……,B-1 BC320 Introduction to Computer Programming

ระบบเลขฐานสิบ (Decimal System) ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว ใช้สัญลักษณ์ 0,1,2,3,4,5,6,7,8 และ 9 ค่าประจำหลักเขียนได้ดังนี้ หลักหน่วย (หลักที่ 1) ค่าประจำหลัก 100 หลักสิบ (หลักที่ 2) ค่าประจำหลัก 101 หลักร้อย (หลักที่ 3) ค่าประจำหลัก 102 ………. ……………. ……………………. หลักที่ n ค่าประจำหลัก 10n-1 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.1 กำหนดให้ N = 8253 เขียนแทน N ด้วย 8253 = (8X103) + (2X102) + (5X101) + (3X100) = 8(1000) + 2(100) + 5(10) + 3 = 8000 + 200 + 50 + 3 BC320 Introduction to Computer Programming

การเขียนแทนเลขเศษส่วนและทศนิยม 10-1 = 1/10 10-2 = 1/100 10-3 = 1/1000 10-4 = 1/10000 10-5 = 1/100000 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.2 จงเปลี่ยน 837.526 ให้อยู่ในรูปของการกระจาย 837.526 = (8X102) + (3X10) + (7X100) + (5X10-1) + (2X10-2) + (6X10-3) = 800+30+7+5/10+2/100+6/1000 BC320 Introduction to Computer Programming

ระบบเลขฐานสอง (Binary System) ประกอบด้วยตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 การอ่านเลขฐานสอง 10102 อ่านว่า หนึ่ง-ศูนย์-หนึ่ง-ศูนย์ ฐาน สอง การนับเลขฐานสอง 1 10 11 100 …….. BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ทำได้โดยคูณเลขฐานสองแต่ละตัว ด้วยน้ำหนักประจำตำแหน่งของตัวเลขตัวนั้น แล้วนำผลลัพธ์มารวมกัน BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.3 จงเปลี่ยน 101112 ให้เป็นเลขในระบบฐานสิบ 101112 = (1X24) + (0X23) + (1X22) + (1X21) + (1X20) = 16+0+4+2+1 = 23 101112 = 23 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.4 จงเปลี่ยน 0.10112 ให้เป็นเลขในระบบฐานสิบ 0.10112 = (0X20) + (1X2-1) + (0X2-2) + (1X2-3) + (1X2-4) = 0 + 0.5 + 0 + 0.125 + 0.0625 = 0.6875 0.10112 = 0.6875 BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ทำได้โดยเอาเลขฐานสิบตั้ง แล้วหารด้วยเลข 2 ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งผลลัพธ์เป็นศูนย์ ในการหารต้องเขียนเศษไว้ทุกครั้ง จากนั้นนำเศษตัวสุดท้ายมาเขียนเป็นเลขฐานสอง เริ่มตั้งแต่ตัวแรกเรียงกันไปจนหมดทุกตัว BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.5 จงเปลี่ยน 25 ให้เป็นเลขในระบบฐานสอง 2 หาร 25 ได้ 12 ครั้ง เหลือเศษ 1 2 หาร 12 ได้ 6 ครั้ง เหลือเศษ 0 2 หาร 6 ได้ 3 ครั้ง เหลือเศษ 0 2 หาร 3 ได้ 1 ครั้ง เหลือเศษ 1 2510 = 110012 BC320 Introduction to Computer Programming

การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition) ขั้นที่ 1 บวกเลขหลักแรก (ขวามือสุด) ขั้นที่ 2 พิจารณาผลลัพธ์ของเลขที่บวก ถ้าผลบวกมากกว่า 1ให้ทดหลักถัดไป ขั้นที่ 3 ถ้ามีเลขอีกให้บวกต่อจนหมด หรือถ้ามีการทดจากขั้นที่ 2 นำมารวมกันก่อนจึงบวกจนหมด BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางการบวกเลขฐานสอง + 1 10 BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางข้อเท็จจริงของการบวกเลขฐานสอง เท่ากับ หมายเหตุ 0+0 0+1 1 1+0 1+1 ใส่ 0 ทด 1 1+1+1 ใส่ 1 ทด 1 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.6 จงหาผลบวกของ 110012 + 11012 ฐานสอง ฐานสิบ 11001 1(2)4 + 1(2)3 + 0 + 0 + 1(2)0 25 +1101 1(2)3 + 1(2)2 + 0 + 1(2)0 +13 100110 38 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.7 จงหาผลบวกของ1100111012 +101101112 110011101 + 10110111 1001010100 1100111012 +101101112 = 1001010100 BC320 Introduction to Computer Programming

ระบบเลขฐานแปด (Octal System) ประกอบด้วยตัวเลข 8 ตัว คือ 0,1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 ค่าประจำหลัก ได้แก่ 80, 81, 82, 83,…., 8n-1 โดยเริ่มจากหลักขวามือสุดไปทางด้านซ้ายเป็นลำดับจนถึงหลักซ้ายมือ สุดคือหลักที่ n ที่มีค่าประจำหลักเป็น 8n-1 BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่างที่ 2.8 จงเปลี่ยนเลข 324528 เป็นเลขฐานสิบ 324528 = (3X84) + (2X83) + (4X82) + (5X81) + (2X80) = (3X4,096) + (2x512) + (4X64) + (5X8) + (2X1) = 12,288 + 1,024 + 256 + 40 + 2 = 13,610 324528 = 13,610 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.9 จงเปลี่ยน 0.34728 เป็นเลขฐานสิบ 0.34728 = (3X8-1)+(4X8-2)+(7X8-3)+(2X8-4) = 0.375+0.0625+0.01367+0.0005 = 0.45167 0.34728 = 0.45167 BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนฐานระหว่างฐานแปดกับฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสอง 000 1 001 2 010 3 011 4 100 5 101 6 110 7 111 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.10 จงเปลี่ยนเลขฐานแปด 42068 เป็นเลขฐานสอง ทำได้โดย แทนค่าเลขฐานแปดแต่ละตัวด้วยเลขฐานสองคราวละ 3 ตัว(จากตาราง) จะได้ผลลัพธ์เป็น 4 2 0 6 (100)(010)(000)(110) BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.11 จงเปลี่ยนเลขฐานสอง 10 101 011 1112 ให้เป็นเลขฐานแปด ทำได้โดย แบ่งเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละ 3 ตัว เริ่มจากขวาสุด แล้วแทนแต่ละกลุ่มด้วยเลขฐานแปดที่เท่ากันจะได้ผลลัพธ์ (10)(101)(011)(111) 2 5 3 7 BC320 Introduction to Computer Programming

การบวกเลขฐานแปด ทำได้ 2 วิธี คือ การบวกเลขฐานแปด ทำได้ 2 วิธี คือ หาผลบวกของเลขฐานสิบ แล้วจึงค่อยแปลงเป็นเลขฐาน 8 แปลงผลบวกของเลขฐานสิบ ถ้าผลบวกนั้นมากกว่า 7 ให้ลบด้วย 8 แล้วทด 1 ด้วยตำแหน่งต่อไป BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างที่ 2.12 จงหาค่าของ ตัวอย่างที่ 2.12 จงหาค่าของ 58 + 48 68 + 78 38 + 28 78 + 48 58 + 28 78 + 38 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming วิธีทำ ข้อ (1) (2) (3) (4) (5) (6) 5 6 3 7 5 7 +4 +7 +2 +4 +2 +3 ผลบวกฐานสิบ 9 13 5 11 7 10 ค่าเปลี่ยนฐาน -8 -8 -0 -8 -0 -8 ผลบวกฐานแปด 11 15 5 13 7 12 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.13 จงหาค่าของ 73468+52638 วิธีทำ 7 3 4 6 + 5 2 6 3 12 5 10 9 ผลบวกฐานสิบ - 8 -0 - 8 -8 ค่าเปลี่ยนฐาน 1 4 6 3 1 ผลบวกของฐานแปด BC320 Introduction to Computer Programming

ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal System) ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว คือ 0,1,… 9 และอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ อีก 6 ตัว คือ A,B,C,D,E,F ซึ่ง A มีค่าเป็น 10 , B มีค่าเป็น 11, …… และ F มีค่าเป็น 15 BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางแสดงค่ายกกำลังของ 16 16 ยกกำลัง ค่าในฐานสิบ 16-3 1/4096= 0.000024 16-2 1/256= 0.0039062 16-1 1/16= 0.0625 160 1 161 16 162 256 163 4096 164 65536 165 1048576 BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนฐานระหว่างฐานสิบหกกับฐานสิบ ตัวอย่างที่ 2.14 จงเปลี่ยนเลข 73D516 ให้เป็นเลขฐานสิบ 73D516 =(7X163)+(3X162)+(13X161)+(5X160) = (7X4096)+(3X256)+(13X6)+(5X1) = 28672+768+208+5 =29653 BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างที 2.15 จงเปลี่ยนเลข 39.B816 ให้เป็นเลขฐานสิบ 39.B816 = (3X161) + (9X160) + (11X16-1) + (8X16-2) = (3X16) + (9X1) + (11X0.0625) +(8X0.00390) = 48 + 9 + 0.6875 + 0.03125 = 57.71875 BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างที 2.16 จงเปลี่ยนเลขฐานสิบ 9719 ให้เป็นเลขฐานสิบหก 16 หาร 9719 ได้ 607 ครั้ง เหลือเศษ 7 16 หาร 607 ได้ 37 ครั้ง เหลือเศษ 15 16 หาร 37 ได้ 2 ครั้ง เหลือเศษ 5 9719 = 25F716 BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางเปรียบเทียบค่าเลขฐานต่าง ๆ เลขฐานสิบหก เลขฐานสิบ เลขฐานสอง 0000 1 0001 2 0010 3 0011 4 0100 5 0101 6 0110 7 0111 BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางเปรียบเทียบค่าเลขฐานต่าง ๆ (ต่อ) เลขฐานสิบหก เลขฐานสิบ เลขฐานสอง 8 1000 9 1001 A 10 1010 B 11 1011 C 12 1100 D 13 1101 E 14 1110 F 15 1111 BC320 Introduction to Computer Programming

การเปลี่ยนฐานกลับไปมาระหว่างเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง ตัวอย่างที 2.16 จงเปลี่ยนเลขฐานสิบหก 3D5916 ให้เป็นเลขฐานสอง 3 D 5 9 0011 1101 0101 1001 นั่นคือ 3D5916 = 111101010110012 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.18 จงเปลี่ยนเลขฐานสอง 10 1101 0010 11102 ให้เป็นเลขฐานสิบหก (10) (1101) (0010) (1110 ) 2 D 2 E นั่นคือ 10 1101 0010 11102 = 2D2E BC320 Introduction to Computer Programming

การบวกเลขฐานสิบหก ทำได้ 2 วิธี คือ การบวกเลขฐานสิบหก ทำได้ 2 วิธี คือ หาผลบวกของเลขฐานสิบ แล้วจึงค่อยแปลงเป็นเลขฐาน 16 แปลงผลบวกของเลขฐานสิบ ถ้าผลบวกนั้นมากกว่า 15 ให้ลบด้วย 16 แล้วทด 1 ด้วยตำแหน่งต่อไป BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางแสดงการบวกเลขฐานสิบหก + 1 2 ... D E F … 3 10 1A 1B 1C 1D 11 1E BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างที่ 2.19 จงหาผลบวกของเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 2.19 จงหาผลบวกของเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ C + D 3 + B F + D 1 + 4 + 6 1 + 5 + C 1 + E + 6 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างที่ 2.20 จงหาผลบวกของเลขฐานสิบหก C878+72D9 วิธีทำ C 8 7 8 + 7 2 D 9 19 10 20 17 ผลบวกฐานสิบ -16 -16 -16 -16 ค่าเปลี่ยนฐาน 13 B 5 1 ผลบวกของฐานสิบหก BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming โครงสร้างข้อมูล Database File Record Field Byte/Char Bit BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming Q&A การบ้านท้ายบทที่ 2 ข้อใหญ่ 1,3,5,7 (ข้อที่มีข้อย่อย ทำทุกข้อย่อย) ห้ามพิมพ์ส่ง เขียนใส่กระดาษรายงาน ลองโจทย์และขีดเส้นคั่นแต่ละข้อให้เรียบร้อย เขียนชื่อ-นามสกุล Section เลขที่ มุมขวาบน ติดแม็กส่งงานให้เรียบร้อย BC320 Introduction to Computer Programming