บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
Advertisements

การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
มูลค่าของเงินตามเวลา
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Advance Excel.
Retire Smart 1st 620/60 บำนาญแบบลดหย่อนได้
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
We will chake the answer Exersies 3.4.3
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
MARKET PLANNING DECISION
สถานการณ์การเงินการคลัง
1.
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบรรยายครั้งที่ 5 การวิเคราะห์แนวตั้งและแนวนอน
งบลงทุน Capital Budgeting
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
Financial Management.
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การแจกแจงปกติ.
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Computer Programming for Engineers
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 10 งบประมาณลงทุน

ระยะเวลาคืนทุน : P.B ตัวอย่างเพิ่มเติม ซื้อเครื่องจักรราคา 4,500 บาท จะได้รับผลตอบแทนเป็นเงินสดที่ประหยัดได้รวม 10,000 บาท สำหรับเวลา 5 ปี แต่เงินสดที่ประหยัดได้แต่ละปีมีดังนี้ ปี เงินที่ประหยัดได้ (บาท) 1 2,000 2 1,800 3 1,500 4 2,500 5 2,200

เงินสดจ่ายลงทุน 4,500 บาท เงินสดรับ 5 ปี งวดเวลาที่ ได้ทุนคืน คำนวณได้ดังนี้ ปีที่ 1 2,000 บาท ปีที่ 2 1,800 บาท ปีที่ 3 700 บาท รวมเงินลงทุน 4,500 บาท

เงินที่ประหยัดได้ใน ปีที่ 3 ระยะเวลาคืนทุน : P.B จากตัวอย่างเพิ่มเติม ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนเริ่มต้น เงินสดรับต่อปี P.B = 2,000 + 1,800 + 700 1,500 2.47 ปี P.B = เงินที่ประหยัดได้ใน ปีที่ 3

ระยะเวลาคืนทุน 2 ปีกว่า เพราะฉะนั้นระยะเวลาคืนทุนคือ 2.47 ปี 2 ปี + (700  1,500) 2 ปี + 0.47 เพราะฉะนั้นระยะเวลาคืนทุนคือ 2.47 ปี

ตัวอย่างเพิ่มเติม (ของเดิม) ซื้อเครื่องจักรราคา 4,500 บาท จะได้รับผลตอบแทนเป็นเงินสดที่ประหยัดได้รวม 10,000 บาท สำหรับเวลา 5 ปี แต่เงินสดที่ประหยัดได้แต่ละปีมีดังนี้ ปี เงินที่ประหยัดได้ (บาท) 1 2,000 2 1,800 3 1,500 4 2,500 5 2,200

จากตัวอย่างเพิ่มเติม ให้หา A.R.R โดยใช้เงินลงทุนถัวเฉลี่ย 2,000 + 1,800 + 1,500 + 2,500 + 2,200 A.R.R = 5 ปี 4,500 2 2,000 A.R.R = X 100 2,250 88.89 % A.R.R =

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R ตัวอย่างเพิ่มเติมที่ 2 ถ้ากิจการจะลงทุนในโครงการๆหนึ่งโดยมีเงินลงทุนเริ่มแรก 300,000 บาท มีเงินสดรับปีละ 65,000 บาท เป็นเวลา 6 ปี ให้หา I.R.R และ กิจการจะรับโครงการนี้หรือไม่ ถ้ากิจการตั้งผลตอบแทนที่ต้องการไว้ที่ 9 %

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R จากตัวอย่างเพิ่มเติม 2 I.R.R = เงินสดจ่ายสุทธิเมื่อเริ่มโครงการ เงินสดรับสุทธิรายปี 300,000 I.R.R = 65,000 4.6154 (ค่า PV) I.R.R = เปิดตาราง PVIFA ดูว่าค่าที่คำนวณได้คือ 4.6154 (n = 6 ปี) อยู่ที่อัตราผลตอบแทน (i) = เท่าใด

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R จากการเปิดค่าในตาราง PVIFA ณ ปีที่ 6 (n = 6) ได้ค่า IRR ดังนี้ i = 8 % ค่า IRR = 4.6229 i = 9 % ค่า IRR = 4.4859 แสดงว่าอัตราผลตอบแทนของโครงการจะอยู่ระหว่าง 8 - 9% (8.05%) กิจการกำหนดไว้ 9% ดังนั้นจึงไม่รับโครงการ

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ N.P.V จากตัวอย่างเพิ่มเติมที่ 2 ถ้ากิจการจะลงทุนในโครงการๆหนึ่งโดยมีเงินลงทุนเริ่มแรก 300,000 บาท มีเงินสดรับปีละ 65,000 บาท เป็นเวลา 6 ปี ให้หา N.P.V. และ กิจการจะรับโครงการนี้หรือไม่ ถ้ากิจการตั้งผลตอบแทนที่ต้องการไว้ที่ 9%

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ N.P.V จากตัวอย่างเพิ่มเติม 2 NPV = มูลค่าปัจจุบันเงินสดเข้า -มูลค่าปัจจุบันเงินสดออก NPV = (65,000 x PVIFA ที่ i = 9% n = 6) - 300,000 NPV = (65,000 x 4.4859) - 300,000 NPV = 291,583.50 - 300,000 NPV = (8,416.50) ตัวอย่างเพิ่มเติม 2 สรุปได้ว่า ไม่ยอมรับโครงการนี้ เพราะให้ค่า NPV น้อยกว่า 0 หรือ เครื่องหมายติดลบ

โจทย์พิเศษสุด ๆ ก่อนสอบ Final บริษัท ก่อนสอบ จำกัด จะพิจารณาลงทุนในโครงการผลิตสินค้าใหม่ คาดว่าตลอดเวลา 7 ปี จะทำกำไรหลังหักภาษี(เงินสดรับ) ได้ปีละ 82,000 บาท ใช้เงินลงทุนเริ่มแรก 460,000 บาท อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ 5% คำนวณหา 1. A.R.R 2. P.B. 3. N.P.V 4. P.I. 5. I.R.R พร้อมทั้งสรุปว่าจะลงทุนในโครงการนี้หรือไม่เพราะเหตุใด

เฉลย

อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย :A.R.R โจทย์พิเศษ A.R.R = กำไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ย เงินลงทุนเริ่มต้น A.R.R = 82,000 X 100 460,000 17.83% A.R.R = จากการคำนวณแสดงว่าบริษัท ก่อนสอบ จำกัด ได้อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย 17.83%

ระยะเวลาคืนทุน : P.B 5.61 ปี P.B = 460,000 82,000 P.B = โจทย์พิเศษ ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนเริ่มต้น เงินสดรับต่อปี P.B = 460,000 82,000 5.61 ปี P.B =

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ N.P.V โจทย์พิเศษ NPV = มูลค่าปัจจุบันเงินสดเข้า - มูลค่าปัจจุบันเงินสดออก NPV = ( 82,000 x PVIFA ที่ i = 5% n = 7) - 460,000 NPV = (82,000 x 5.7864) - 460,000 NPV = 474,484.80 - 460,000 NPV = 14,484.80 โจทย์พิเศษ สามารถสรุปได้ว่า ยอมรับโครงการนี้ เพราะให้ค่า NPV มากกว่า 0 หรือ เครื่องหมายติดบวก

มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ความหมาย N.P.V. เครื่องหมาย + มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ

ดัชนีการทำกำไร : P.I 474,484.80 = 1.03 460,000 P.I. = โจทย์พิเศษ การหา N.P.V. NPV = มูลค่าปัจจุบันเงินสดเข้า - มูลค่าปัจจุบันเงินสดออก NPV = 474,484.80 - 460,000 P.I. = มูลค่าปัจจุบันเงินสดรับสุทธิ มูลค่าปัจจุบันเงินสดจ่าย 474,484.80 P.I. = = 1.03 460,000

ความหมาย P.I. ลงทุน 1 บาท ตอบแทนมากกว่า 1 บาท ค่ามากกว่า 1

มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ความหมาย P.I. มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ค่ามากกว่า 1

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R โจทย์พิเศษ I.R.R = เงินสดจ่ายสุทธิเมื่อเริ่มโครงการ เงินสดรับสุทธิรายปี 460,000 I.R.R = 82,000 5.6098 I.R.R = (ค่า PV) เปิดตาราง PVIFA ดูว่าค่าที่คำนวณได้คือ 5.6098 (n = 7 ปี) อยู่ที่อัตราผลตอบแทน (i) = เท่าใด

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R จากการเปิดค่าในตาราง ณ ปีที่ 7 (n = 7) ได้ค่า IRR ดังนี้ i = 5 % ค่า IRR = 5.7864 i = 6 % ค่า IRR = 5.5824 แสดงว่าอัตราผลตอบแทนของโครงการจะอยู่ระหว่าง 5 - 6% กิจการกำหนดไว้ 5% ดังนั้นจึงยอมรับโครงการ

สรุป

โจทย์พิเศษสุด ๆ ก่อนสอบ Final บริษัท ก่อนสอบ จำกัด จะพิจารณาลงทุนในโครงการผลิตสินค้าใหม่ คาดว่าตลอดเวลา 7 ปี จะทำกำไรหลังหักภาษี(เงินสดรับ) ได้ปีละ 82,000 บาท ใช้เงินลงทุนเริ่มแรก 460,000 บาท อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ 5% คำนวณหา 1. A.R.R 2. P.B. 3. N.P.V 4. P.I. 5. I.R.R พร้อมทั้งสรุปว่าจะลงทุนในโครงการนี้หรือไม่เพราะเหตุใด

1. A.R.R = 17.83% 2. P.B. = 5.61 ปี 3. N.P.V = 14,484.80 (บวก) 4. P.I. = 1.03 5. I.R.R = 5.6098 ประมาณ 6 %

สรุปว่าจะลงทุนในโครงการนี้หรือไม่เพราะเหตุใด ลงทุนในโครงการนี้ เพราะ ดัชนีการทำกำไร (P.I) มีค่ามากกว่า 1 (1.03) และ อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (I.R.R) มีค่ามากกว่าที่ต้องการคือ 5 % (ประมาณ 6%) รวมถึง มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (N.P.V) ก็มีค่าเป็นบวก อยู่ที่ 14,484.80 แต่ อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (A.R.R) มีค่าอยู่ที่ประมาณ 17.83 % ถือว่าค่อนข้างต่ำ และประกอบกับ ระยะเวลาคืนทุน (P.B.) มีระยะเวลาค่อนข้างนาน ประมาณ 5.61 ปี

END บทที่ 10