ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
มูลค่าของเงินตามเวลา
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การประเมินราคาตราสารหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
Training Management Trainee
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
LAB # 3 Computer Programming 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
พฤติกรรมผู้บริโภค.
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
การทดสอบสมมติฐาน
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การแจกแจงปกติ.
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ตัวแทนรวบรวมเอกสาร CAT CDMA. คุณสมบัติของตัวแทนฯ  เป็นนิติบุคคล  ทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 400,000 บาท  ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบสื่อสารหรือ คอมพิวเตอร์
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
Option Risk Managemetn
Risk Management Strategy
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
= = = = = = = = = =1 Sum = 30 Sum = 16 N = 10 N-1 = 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน การหาผลตอบแทน แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง การวัดความเสี่ยง ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

การวัดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อัตราผลตอบแทนการลงทุนวัดตัวเงินที่ได้จากการลงทุน อัตราผลตอบแทนอาจวัดในรูปของผลตอบแทนในอดีตหรือผลตอบแทนที่คาดหวัง ผลตอบแทนสามารถแสดงได้ในรูปของ: จำนวนเงิน เช่น 10,000 บาท เปอร์เซ็นต์ เช่น 15% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration จงหาอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนซื้อหุ้น 100 บาท และขายไปในราคา 110 บาท ในอีก 1 ปีต่อมา? อัตราผลตอบแทนเป็นจำนวนเงิน: จำนวนเงินที่ได้รับ - จำนวนเงินลงทุน 110 บาท - 100 บาท = 10 บาท อัตราผลตอบแทนเป็นเปอร์เซ็นต์: ผลตอบแทน/เงินลงทุน 10 บาท/100 บาท = 0.10 = 10%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

ความเสี่ยงจากการลงทุน ตามปกติแล้ว เราจะไม่ทราบผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างแน่นอน ความเสี่ยงจากการลงทุน (Investment risk) เกิดจากการที่มีความน่าจะเป็นที่การลงทุนจะได้รับผลตอบแทนน้อยกว่าที่ได้คาดเอาไว้ ยิ่งโอกาสที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าผลตอบแทนที่คาดไว้มากขึ้นเท่าไรความเสี่ยงก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration Probability distribution หุ้น X หุ้น Y อัตราผลตอบแทน (%) -20 15 50 หุ้นใดมีความเสี่ยงมากกว่ากัน? เพราะเหตุใด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

สมมติทางเลือกในการลงทุนต่างๆดังนี้ ภาวะเศรษฐกิจ Prob. พันธบัตร HT Coll USR MP ถดถอย 0.10 8.0% -22.0% 28.0% 10.0% -13.0% ต่ำกว่าปกติ 0.20 8.0 -2.0 14.7 -10.0 1.0 ปกติ 0.40 20.0 0.0 7.0 15.0 สูงกว่าปกติ 35.0 45.0 29.0 ดีมาก 50.0 -20.0 30.0 43.0 1.00 Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

คำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง (expected rate of return) ในแต่ละทางเลือก ^ k = อัตราผลตอบแทนคาดหวัง ^ kHT = 0.10(-22%) + 0.20(-2%) + 0.40(20%) + 0.20(35%) + 0.10(50%) = 17.4%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

สรุปผลในการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก k HT 17.4% MP 15.0 USR 13.8 พันธบัตร 8.0 Coll 1.7 ^ HT มีอัตราผลตอบแทนสูงสุด และดูเหมือนเป็นการลงทุนที่ดีที่สุด อย่างไรก็ดี เราต้องคำนึงถึงความเสี่ยงด้วย Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราผลตอบแทนในแต่ละทางเลือก Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration HT:  = ((-22 - 17.4)20.10 + (-2 - 17.4)20.20 + (20 - 17.4)20.40 + (35 - 17.4)20.20 + (50 - 17.4)20.10)1/2 = 20.0%. พันธบัตร = 0.0%. HT = 20.0%. Coll = 13.4%. USR = 18.8%. MP= 15.3%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration Prob. พันธบัตร USR HT 8 13.8 17.4 อัตราผลตอบแทน (%) Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) วัดความเสี่ยงจากการลงทุนในหุ้นตัวเดียว ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานยิ่งสูง ความน่าจะเป็นที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนคาดหวังจะยิ่งมากขึ้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและความเสี่ยง หลักทรัพย์ ที่คาดหวัง ความเสี่ยง,  HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ทางเลือกใดดีที่สุด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of variation; CV) คือ ตัววัดที่เป็นมาตรฐานของการกระจายของมูลค่าที่คาดหวัง ซึ่งแสดงถึงความเสี่ยงต่อ 1 หน่วยของอัตราผลตอบแทน CV = /k ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation หลักทรัพย์ k  CV HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation Coll. มีระดับความเสี่ยงต่อหนึ่งหน่วยของอัตราผลตอบแทนที่สูงที่สุด ถึงแม้ว่า HT จะมี standard deviation สูงที่สุด แต่ก็มีค่า CV โดยเปรียบเทียบอยู่ในระดับปานกลาง Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนในกลุ่มหลักทรัพย์ สมมติให้กลุ่มหลักทรัพย์ประกอบด้วยหุ้นสองตัวคือ HT (50,000 บาท) และ Coll (50,000 บาท) ^ คำนวณ kp and p. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

อัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์, kp ^ ^ kp ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราผลตอบแทน: n ^ ^ kp = wiki i = 1 ^ kp = 0.5(17.4%) + 0.5(1.7%) = 9.6% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration p = ((3.0 - 9.6)20.10 + (6.4 - 9.6)20.20 + (10.0 - 9.6)20.40 + (12.5 - 9.6)20.20 + (15.0 - 9.6)20.10)1/2 = 3.3%. p ต่ำกว่า:  ของหุ้นแต่ละตัว (20% and 13.4%)  เฉลี่ยของ HT และ Coll (16.7%) กลุ่มหลักทรัพย์ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอย่างมากเนื่องจากหุ้นมีค่า correlation ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

Bangkok University School of Business Administration σp = 3.3% ต่ำกว่า σi ของหุ้นแต่ละตัว (σHT = 20.0%; σColl. = 13.4%) σp = 3.3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ σ ของ HT และของ Coll (16.7%) \ Portfolio ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าความเสี่ยงโดยเฉลี่ยอย่างมาก เนื่องจากค่า correlation ระหว่างหุ้น ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration