ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน การหาผลตอบแทน แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง การวัดความเสี่ยง ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
การวัดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อัตราผลตอบแทนการลงทุนวัดตัวเงินที่ได้จากการลงทุน อัตราผลตอบแทนอาจวัดในรูปของผลตอบแทนในอดีตหรือผลตอบแทนที่คาดหวัง ผลตอบแทนสามารถแสดงได้ในรูปของ: จำนวนเงิน เช่น 10,000 บาท เปอร์เซ็นต์ เช่น 15% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration จงหาอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนซื้อหุ้น 100 บาท และขายไปในราคา 110 บาท ในอีก 1 ปีต่อมา? อัตราผลตอบแทนเป็นจำนวนเงิน: จำนวนเงินที่ได้รับ - จำนวนเงินลงทุน 110 บาท - 100 บาท = 10 บาท อัตราผลตอบแทนเป็นเปอร์เซ็นต์: ผลตอบแทน/เงินลงทุน 10 บาท/100 บาท = 0.10 = 10%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
ความเสี่ยงจากการลงทุน ตามปกติแล้ว เราจะไม่ทราบผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างแน่นอน ความเสี่ยงจากการลงทุน (Investment risk) เกิดจากการที่มีความน่าจะเป็นที่การลงทุนจะได้รับผลตอบแทนน้อยกว่าที่ได้คาดเอาไว้ ยิ่งโอกาสที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าผลตอบแทนที่คาดไว้มากขึ้นเท่าไรความเสี่ยงก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration Probability distribution หุ้น X หุ้น Y อัตราผลตอบแทน (%) -20 15 50 หุ้นใดมีความเสี่ยงมากกว่ากัน? เพราะเหตุใด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
สมมติทางเลือกในการลงทุนต่างๆดังนี้ ภาวะเศรษฐกิจ Prob. พันธบัตร HT Coll USR MP ถดถอย 0.10 8.0% -22.0% 28.0% 10.0% -13.0% ต่ำกว่าปกติ 0.20 8.0 -2.0 14.7 -10.0 1.0 ปกติ 0.40 20.0 0.0 7.0 15.0 สูงกว่าปกติ 35.0 45.0 29.0 ดีมาก 50.0 -20.0 30.0 43.0 1.00 Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
คำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง (expected rate of return) ในแต่ละทางเลือก ^ k = อัตราผลตอบแทนคาดหวัง ^ kHT = 0.10(-22%) + 0.20(-2%) + 0.40(20%) + 0.20(35%) + 0.10(50%) = 17.4%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
สรุปผลในการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก k HT 17.4% MP 15.0 USR 13.8 พันธบัตร 8.0 Coll 1.7 ^ HT มีอัตราผลตอบแทนสูงสุด และดูเหมือนเป็นการลงทุนที่ดีที่สุด อย่างไรก็ดี เราต้องคำนึงถึงความเสี่ยงด้วย Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราผลตอบแทนในแต่ละทางเลือก Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration HT: = ((-22 - 17.4)20.10 + (-2 - 17.4)20.20 + (20 - 17.4)20.40 + (35 - 17.4)20.20 + (50 - 17.4)20.10)1/2 = 20.0%. พันธบัตร = 0.0%. HT = 20.0%. Coll = 13.4%. USR = 18.8%. MP= 15.3%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration Prob. พันธบัตร USR HT 8 13.8 17.4 อัตราผลตอบแทน (%) Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) วัดความเสี่ยงจากการลงทุนในหุ้นตัวเดียว ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานยิ่งสูง ความน่าจะเป็นที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนคาดหวังจะยิ่งมากขึ้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและความเสี่ยง หลักทรัพย์ ที่คาดหวัง ความเสี่ยง, HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ทางเลือกใดดีที่สุด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of variation; CV) คือ ตัววัดที่เป็นมาตรฐานของการกระจายของมูลค่าที่คาดหวัง ซึ่งแสดงถึงความเสี่ยงต่อ 1 หน่วยของอัตราผลตอบแทน CV = /k ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation หลักทรัพย์ k CV HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation Coll. มีระดับความเสี่ยงต่อหนึ่งหน่วยของอัตราผลตอบแทนที่สูงที่สุด ถึงแม้ว่า HT จะมี standard deviation สูงที่สุด แต่ก็มีค่า CV โดยเปรียบเทียบอยู่ในระดับปานกลาง Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนในกลุ่มหลักทรัพย์ สมมติให้กลุ่มหลักทรัพย์ประกอบด้วยหุ้นสองตัวคือ HT (50,000 บาท) และ Coll (50,000 บาท) ^ คำนวณ kp and p. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
อัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์, kp ^ ^ kp ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราผลตอบแทน: n ^ ^ kp = wiki i = 1 ^ kp = 0.5(17.4%) + 0.5(1.7%) = 9.6% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration p = ((3.0 - 9.6)20.10 + (6.4 - 9.6)20.20 + (10.0 - 9.6)20.40 + (12.5 - 9.6)20.20 + (15.0 - 9.6)20.10)1/2 = 3.3%. p ต่ำกว่า: ของหุ้นแต่ละตัว (20% and 13.4%) เฉลี่ยของ HT และ Coll (16.7%) กลุ่มหลักทรัพย์ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอย่างมากเนื่องจากหุ้นมีค่า correlation ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration
Bangkok University School of Business Administration σp = 3.3% ต่ำกว่า σi ของหุ้นแต่ละตัว (σHT = 20.0%; σColl. = 13.4%) σp = 3.3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ σ ของ HT และของ Coll (16.7%) \ Portfolio ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าความเสี่ยงโดยเฉลี่ยอย่างมาก เนื่องจากค่า correlation ระหว่างหุ้น ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration