วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) 1. กำหนดปัญหา (Problem Definition) 2. วิเคราะห์ (Analysis) 3. ออกแบบ (Design) 4. พัฒนา (Development) 5. ทดสอบ (Testing) 6. ติดตั้ง (Implementation) 7. บำรุงรักษา (Maintenance) 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
1. กำหนดปัญหา (Problem Definition) รับรู้สภาพปัญหา ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน สรุปหาสาเหตุของปัญหา และสรุปผลยื่นแก่ผู้บริหาร เพื่อพิจารณา ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในแง่มุมต่างๆ เช่น ด้านต้นทุน และทรัพยากร รวบรวมความต้องการ (Requirements) จากผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้วยวิธีต่างๆ สรุปข้อกำหนดต่างๆ ให้มีความชัดเจนถูกต้อง ยอมรับทั้ง 2 ฝ่าย 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
2. วิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์ระบบงานเดิม กำหนดความต้องการของระบบใหม่ สร้างแบบจำลอง Logical Model ซึ่งประกอบด้วย Data Flow Diagram, System Flowchart, Process Description, ER-Diagram เป็นต้น สร้างพจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary) 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
3. ออกแบบ (Design) การออกแบบรายงาน (Output Design) การออกแบบจอภาพ (input Design) การออกแบบข้อมูลนำเข้า และรูปแบบการรับข้อมูล การออกแบบผังระบบ (System Flowchart) การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) การสร้างต้นแบบ (Prototype) 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
4. พัฒนา (Development) พัฒนาโปรแกรมจากที่ได้ทำการวิเคราะห์ และออกแบบไว้ เลือกภาษาที่เหมาะสม และพัฒนาต่อได้ง่าย อาจใช้ Case Tools ในการพัฒนา เพื่อเพิ่มความสะดวก และการตรวจสอบ หรือแก้ไขที่รวดเร็ว และเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน สร้างเอกสารโปรแกรม 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
5. ทดสอบ (Testing) ในระหว่างการพัฒนา ควรมีการทดสอบการใช้งานร่วมไปด้วย ทดสอบ จากข้อมูลที่จำลองขึ้น ทดสอบระบบในส่วนของ Verification และ Validation จัดฝึกอบรม การใช้ระบบงาน 22/7/03 บทที่ 1 - 3
6. ติดตั้ง (Implementation) ก่อนทำการติดตั้งระบบ ควรทำการศึกษาสภาพแวดล้อมของพื้นที่ ที่จะติดตั้ง เตรียมอุปกรณ์ Hardware และอุปกรณ์ทางสื่อสารให้พร้อม อาจใช้ผู้เชี่ยวชาญระบบ เช่น System Engineer และ Technical Support ลงโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ และแอพพริเคชั่นโปรแกรม ให้ครบถ้วน ดำเนินการใช้งานระบบงานใหม่ จัดทำคู่มือการใช้ 22/7/03 บทที่ 1 - 3
7. บำรุงรักษา (Maintenance) อาจมีข้อผิดพลาดบางอย่าง ที่เพิ่งค้นพบ ต้องรีบแก้ไขโปรแกรมให้ถูกต้องโดยด่วน อาจมีการเพิ่มโมดุล หรืออุปกรณ์บางอย่าง การบำรุงรักษา ครอบคลุมทั้ง Hardware และ Software 22/7/03 บทที่ 1 - 3
วิศวกรรมซอร์ฟแวร์ (Software Engineering) ใช้หลักทางวิศวกรรม มาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาซอร์ฟแวร์ให้มีคุณภาพ และสามารถบริหารทีมงานพัฒนาจนกระทั่งสำเร็จ 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
คุณสมบัติของซอร์ฟแวร์ที่มีคุณภาพ 1. มีความถูกต้อง (Correctness) 2. มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) 3. ใช้งานง่าย (User Friendliness) 4. มีความง่าย ต่อการปรับเปลี่ยน (Adaptability) 5. สามารถนำกลับมาใช้งานใหม่ได้ (Reusability) 6. เขากันได้กับระบบที่แตกต่าง (Interoperability) 7. เคลื่อนย้ายสะดวก (Portability) 8. มีความปลอดภัย (Security) 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
Verification คือ การตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากยอมรับในรายละเอียด (Specification) Validation คือ การตรวจสอบความถูกต้อง โดยพิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้งาน 22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3
22/7/03 บทที่ 1 - 3