บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น
2.1 นิยามพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง 2.1 นิยามพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง จำนวนเต็ม (Integer) จำนวนจริง (Real) คำสงวน (Reserved Word) ไอเดนติฟายเออร์ (Indentifier) ค่าคงที่ (Constant) ตัวแปร (Variable) นิพจน์ (Expression)
แผนภาพไวยากรณ์ของภาษาปาสคาล จากแผนภาพ ลักษณะที่สามารถเป็นไปได้ A ABC ABBC ABB…C
2.2 ชนิดของข้อมูลเบื้องต้น 2.2 ชนิดของข้อมูลเบื้องต้น มี 4 ชนิด คือ Integer Real Boolean Char
2.3 รูปแบบโครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล 2.3 รูปแบบโครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัวโปรแกรม (Program Heading Part)
ส่วนการประกาศ (Declaration Part) การกำหนดค่าคงที่
การประกาศตัวแปร การประกาศรายชื่อชนิดของข้อมูล การประกาศโปรแกรมย่อย มี 2 ประเภทคือ function และ procedure
ส่วนคำสั่งการทำงาน (Statement Part)
ตัวอย่างโปรแกรม PROGRAM example1(input,output); CONST A = 0.5; VAR B,C,Area : Real; BEGIN Write(“Entry input A,B :”); Readln(B,C); Area := A*B*C; Writeln(“Area = ”, Area); END.
2.4 เครื่องหมายที่ใช้ในภาษาปาสคาล (Operators) เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) เช่น +, - , *, /, DIV, MOD เครื่องหมายเปรียบเทียบ (Comparison Operators) เช่น มากกว่า, น้อยกว่า, มากกว่าหรือเท่ากับ เป็นต้น เครื่องหมายตรรกะ (Logical Operators) เช่น AND, OR, NOT เป็นต้น
2.5 ลำดับการทำงานของเครื่องหมายต่าง ๆ 2.5 ลำดับการทำงานของเครื่องหมายต่าง ๆ ได้แก่ NOT, ติดลบ AND, * , . DIV, MOD OR, + , - เครื่องหมายเปรียบเทียบ
2.6 นิพจน์บูลีน (Boolean Expressions) Relational Operator ความหมาย = เท่ากัน < น้อยกว่า > มากกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากัน >= มากกว่าหรือเท่ากัน <> ไม่เท่ากับ
2.7 การจัดการเกี่ยวกับการรับและแสดงผลข้อมูล 2.7 การจัดการเกี่ยวกับการรับและแสดงผลข้อมูล INPUT เป็นการรับข้อมูลเข้ามาทำงาน คำสั่งที่ใช้งานคือ READ, READLN
OUTPUT เป็นการแสดงผลออกทางหน้าจอ หรือการนำผลลัพธ์ไปเก็บลงในไฟล์ก็ได้ คำสั่งที่ใช้งานคือ WRITE, WRITELN
2.8 การมอบหมายค่าแก่ตัวแปร 2.8 การมอบหมายค่าแก่ตัวแปร Assignment Statement รูปแบบ ชื่อตัวแปรเดี่ยว := นิพจน์ เช่น answer := 5+8*10; X := Y+3; key := ‘X’;
2.9 ฟังก์ชั่นมาตรฐาน (Standard Function) ที่สำคัญ ภาษาปาสคาลเตรียมฟังชั่นพิเศษ เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม เช่น SQR, SQRT, SIN, COS เป็นต้น ตัวอย่าง A := Abs(-5); หมายถึง มีการเรียกใช้ฟังก์ชั่นมาตรฐานชื่อ Absolute เพื่อทำการหาค่าสัมบูรณ์ของ –5 ซึ่งมีคำตอบคือ 5 แล้วจึงนำคำตอบไปเก็บไว้ในตัวแปร A