การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
การฝึกอบรม โครงการจัดทำระบบคลังข้อมูลสาธารณภัย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
Training Management Trainee
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
Group 1 Proundly Present
Why should they feel interested? How we get involved?
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
มาตรการรองรับ ราคาน้ำมันแพง
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
KMUTT ไฟฟ้า จาก แสงอาทิตย์ นาย ชาย ชีวะเกตุ.
Location Problem.
Use Case Diagram.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
Second-Order Circuits
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
E-Sarabun.
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การค้นในปริภูมิสถานะ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๒
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) การใช้พลังงานเพิ่มตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ I = Energy intensity = 2

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) I = Energy intensity =  = Energy elasticity = 3

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) I = Energy intensity =  = Energy elasticity = ถ้า  = 1 I มีค่าคงที่ ถ้า  > 1 I มีค่าเพิ่มขึ้นตามเวลา ถ้า  < 1 I มีค่าลดลงตามเวลา 4

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) พยากรณ์โดย 1. คาดการณ์ GDP ไปในอนาคต 2. อาศัย Energy intensity (I) หรือ Energy elasticity () เพื่อพยากรณ์ demand for energy ในอนาคต 8

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า รายงานการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า มีนาคม 2550 (ดู website คณะฯ) พยากรณ์ demand ปี 2550-2564 (15 ปี) 9

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนแรก พยากรณ์พลังงานไฟฟ้า (energy) โดย econometric model Energy D = f (GDP, ….) ผ่าน energy elasticity () 10

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนแรก พยากรณ์พลังงานไฟฟ้า Energy D growth = GDP growth x  โดย  มีแนวโน้มลดลง 11

GDP growth rates

GDP growth rates

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ขั้นตอนที่ 2 พยากรณ์ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak power demand) อาศัยลักษณะการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อแปลง energy demand (MWh) ให้เป็น power load profile (MW) 15

4. แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends) ตัวอย่าง: การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ใช้ผลพยากรณ์ Peak power demand ในการวางแผนลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าล่วงหน้า 21

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) กรณีอนาคตไม่เหมือนอดีต + ทางเลือกในการเปลี่ยนเหตุการณ์ วาดภาพ (imagine) มากกว่า history เหตุการณ์สอดคล้องกันทางตรรกะ แต่มีชุดให้เลือกหลายชุด ให้เห็นโอกาสและปัญหา 22

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) บริษัท Shell ใช้บ่อย ขั้นตอน: 1. ระบุประเด็นตัดสินใจ 2. ระบุปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพล เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนฯ สิ่งแวดล้อม 23

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ขั้นตอน: 3. พัฒนาบท (plot) ของ scenario หลายชุด เช่น worst case, best, base (expected), รัฐบาลแทรกแซง, ดีต่อสิ่งแวดล้อม 24

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ขั้นตอน: 4. ใส่รายละเอียด เหตุการณ์/ การเปลี่ยนแปลง สำคัญ 5. ระบุผลกระทบสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจ 25

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 (ดู website คณะฯ) ความท้าทาย: “ใช้พลังงานมากขึ้น แต่สร้าง CO2 น้อยลง” 26

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: ประเทศกำลังพัฒนาใช้พลังงานเข้มข้นมากขึ้น โดยเฉพาะจีน และอินเดีย 27

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: อุปทานพลังงานมีจำกัดมากขึ้น น้ำมันและก๊าซเริ่มชะลอปี 2015 ถ่านหินขนส่งยากและสกปรก พลังงานทดแทนสำคัญมากขึ้น แต่ไม่มี “silver bullet” 28

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 ความจริง (truths) 3 ประการ: ยากมากขึ้นในการจำกัดปริมาณ CO2 ในบรรยากาศในระดับปลอดภัย 29

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) ตัวอย่าง Shell Energy Scenario to 2050 Scenario 2 ชุด: Scramble แย่งกัน หรือมั่ว (bad case) Blueprints พิมพ์เขียว วางแผน (good case) 30

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) Scramble แย่งกัน (bad case): ประเทศมุ่งแย่งกันหาพลังงาน โดยไม่ให้ความสำคัญกับปัญหาโลกร้อน และการประหยัดพลังงาน (ยากทางการเมือง) น้ำมันแพงมาก โลกใช้ถ่านหินมากขึ้น รวมทั้งนิวเคลียร์ และ biofuels 31

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) Scramble แย่งกัน (bad case): CO2 เพิ่มในระดับอันตราย โลกหันมาสนใจปัญหาโลกร้อน รัฐบาลต้องใช้มาตรการเด็ดขาดเพื่อลดใช้พลังงาน แต่ก็ “สายเกินไป” 32

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ตอบสนองต่อปัญหาพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างทันการณ์ และเป็นระบบ ความร่วมมือแก้ปัญหา เริ่มจาก “รากหญ้า” นำไปสู่ระดับรัฐบาลและโลก 33

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ภาษี สิ่งจูงใจ และตลาดค้าคาร์บอน ทำให้มีการประหยัดใช้พลังงาน เช่น รถไฟฟ้า carbon capture and storage ลม แดด และ clean coal technology 34

5. การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning) Blueprints พิมพ์เขียว (good case): ข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน โดยมีสหรัฐฯ จีน และอินเดียเข้าร่วมด้วย การใช้พลังงานต่อหัวลดลงในสหรัฐฯ และ EU CO2 ถูกจำกัดในระดับปลอดภัย 35

Unit: EJ 2000 2020 2050   Scramble Blueprints Oil 147 186 191 141 157 Gas 88 133 139 108 122 Coal 97 199 172 263 208 Nuclear 28 34 30 43 50 Biomass 44 59 52 131 57 Solar 2 7 94 74 Wind 9 36 39 Other Renewables 13 29 65 62 Total primary energy 417 650 629 881 769

2000 2020 2050   Scramble Blueprints Oil 35% 29% 30% 16% 20% Gas 21% 22% 12% Coal 23% 31% 27% Nuclear 7% 5% Biomass 11% 9% 8% 15% Solar 0% 1% 10% Wind 4% Other Renewables 3% Total primary energy 100%