Chapter5:Sound (เสียง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
Chapter 6 : Video.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
….E-Book สนุกสนาน…..
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
UNDERSTANDING NETWORK BASIC ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเครือข่าย
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
TelecommunicationAndNetworks
DSL : Digital Subscriber Line
Data Transferring.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Modulation เป็น เทคนิคที่ใช้ในการปรับ/เปลี่ยนรูปแบบของสัญญานไฟฟ้าของ คลื่นนำ เพื่อให้สัญญานนั้นสามารถนำพา ข้อมูลไปยังปลายทางได้
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
On Win 7 + Win XP + 10 Media player ปรับปรุง 10 มิถุนายน 2557
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
CDEX => MP3 โปรแกรมบันทึกเสียงขนาดเล็ก ปรับปรุง 10 มิถุนายน
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
System Development Lift Cycle
การเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Principle of Graphic Design
Geographic Information System
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการฐานข้อมูล.
การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ADDIE Model.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หลักการบันทึกเสียง.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ นางสาว อุทัยวรรณ อำพันขาว PE 32 ID
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
Chapter5:Sound (เสียง)
เสียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter5:Sound (เสียง)

Intro เป็นปัจจัยที่นำมาใช้ในงานด้านมัลติมีเดีย นำเสนอในรูปแบบเสียงดนตรี เสียงระทึกใจ เสียงเรียนแบบธรรมชาติ เสียงสามารถสร้างบรรยากาศความรักความสุขได้ การเลือกใช้เสียงมาประกอบเป็นสิ่งจำเป็น

เรื่องทั่วไปของเสียง เสียงที่ได้ยินเกิดจากการเดินทางของเสียงผ่านตัวกลาง คลื่นเสียงจะเปลี่ยนไปตามขนาด(Amplitude)หรือความถี่(Frequency)ของการสั่นสะเทือนตามระยะเวลา หน่วยวัด ใช้วัดความดังเรียกว่า “เดซิเบล” ใช้วัดความความถี่เรียกวา “เฮิรตซ์” เทคโนโลยีเสียงที่นำมาใช้ในงาน Multimediaคือ MIDI และ Digital

MIDI:Musical Instrument Digital Interface มาตรฐานด้านเสียงตั้งแต่ปี 1980 เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ เสียงจาก MIDI ไม่เหมือนเครื่องดนตรีจริงๆ สร้างเสียงตามตัวโน้ต เสมือนเล่นเครื่องดนตรีชนิดนั้นเลย เครื่องมือที่ใช้เล่นเสียงเพลง MIDI จะมีผลต่อคุณภาพเสียงที่ได้ MIDI จำเป็นต้องมีการปรับแต่งเสียงให้ไพเราะ

MIDI ข้อดี ข้อเสีย ไฟล์มีขนาดเล็ก ไม่จำเป็นใช้เครื่องดนตรีจริง ใช้หน่วยความจำน้อย ประพื้นที่ใน HDD เหมาะกับงานบนเครือข่าย ง่ายต่อการแก้ไขปรับปรุง แสดงเสียงได้แค่ดนตรีบรรเลง อุปกรณ์ที่ใช้สร้างเสียงมีราคาแพง

Digital Audio เสียงที่มาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะห์เสียง เครื่องเล่นเทป เสียงต่างจากธรรมชาติ หรือที่สร้างขึ้น นำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณดิจดตอล ข้อมูลจะถูกสุ่มมาในรูปแบบ Bit หรือ Byte เรียกอัตราการสุ่มว่า “Sampling Rate” และข้อมูลที่ได้เรียกว่า “Sampling Size” เสียงแบบนี้มีขนาดข้อมูลใหญ่ ใช้ทรัพยากรมากกว่า

Digital Audio

Processing Sound เป็นกระบวนการต่างๆที่นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับการสร้างหรือแก้ไขเสียง และทำการทดสอบเสียงที่สร้างขึ้นก่อนนำไปใช้งาน มี 3 แบบ 1.การบันทึก(Recording) 2.การนำเข้าข้อมูลเสียง(Importing) 3.การแก้ไขและเพิ่มเทคนิคพิเศษ(Edit and Effect) 4.การจัดเก็บ(Digital audio file)

Recording Sound ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ต้องการคุณภาพและมาตราฐานเสียงอย่างไร ถ้าอยากได้เสียงดี ต้องใช้โปรแกรมนำเข้าและแสดงผลได้ดี รวมทั้ง Hardware ที่มีประสิทธิภาพ แต่มีค่าใช้จ่ายสูง เสียงที่ทำงานผ่านคอมพิวเตอร์มีสัญญาณดิจิจอลอยู่ 2 แบบ Synthesize sound เป็นเสียงจากตัววิเคาระห์เสียงเช่น MIDI Sound data เป็นเสียงที่ได้จาการแปลงสัญญาณ Analog เป็น Digital

Importing Sound เป็นการนำเข้าเสียง เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการเสียงมากขึ้น การนำเข้าเสียงจะนำเข้าจากแผ่น CD Audio และใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมร่วมกันเช่น Program Quick Time ,Windows Media Player

Editing and Effect เป็นการแก้ไขและตัดต่อเสียง ปรับแต่งเสียง สิ่งสำคัญคือจัดสรรเวลาให้เสียงแสดงผลให้ตรงกับองค์ประกอบโปรแกรมที่ช่วยเช่น Audio Edit

Digital Audio File แฟ้มข้อมูลเสียงจะมีการจัดเก็บแบบตรงไปตรงมา คือไม่ว่าจะบันทึกเสียงจากแหล่งใด แฟ้มข้อมูลก็จะทำการบันทึกเป็นสื่อดิจิตอล การบันทึกแต่ละครั้งก็จะใช้อุปกรณ์เพียงชนิดเดียว ต้องเตรียม RAM และ HDD รองรับให้เหมาะสมกับคุณภาพเสียงที่ต้องการ มีมาตรการป้องกันการรบกวน

File Size & Quality ยิ่ง Sampling Rate สูงความถูกต้องของเสียงที่บันทึกก็จะสูงตาม คุณภาพเสียงดีเท่าไหร่ๆไฟล์ก็ใหญ่ไปด้วย เสียงแบบ Stereo ทำให้เสียงดูสมจริงมากขึ้น ส่วนเสียงแบบ Mono ทำให้เสียงสูญเสียความสมจริง แต่ขนาดไฟล์แตกต่างกัน แม้ใช้ระยะเวลาเท่ากัน

Stereo & Mono Stereo Mono Sampling rate * Recorded time*(Sampling Size/8)*2 Mono Sampling rate * Recorded time*(Sampling Size/8)*1 เช่น บันทึกเสียงแบบ Mono นาน 10 s ที่ Sampling Rate 22.05 KHz,Sampling Size 8 bit จะคำนวนได้ดังนี้ Mono = 22050*10*8/8*1=220,500 byte Stereo = 22050*10*16/8*2=1,764,000 byte

Sound Compression เป็นการบีบอัดไฟล์ก่อนการจัดเก็บเสียง เพื่อให้ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บรวมทั้งช่วยให้การแสดงเสียงทำได้รวดเร็ว มาตราฐานที่ได้รับความนิยมคือ MPEG

MPEG-1 เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดข้อมูลเสียง รูปแบบที่นิยมคือ MP3 (MPEG-1 Layer 3) อัตราการบีย 10:1 ข้อเสียคุณภาพการแสดงผลอาจไม่ดีมากนัก

MACE เป็นเทคโนโลยีที่ทำงานได้เฉพาะบนเครื่องแมคอินทอช สามารถบีบอัดและขยายข้อมูลให้มีขนาดเท่าเดิม ใช้ได้เฉพาะข้อมูลเสียง 8 บิต อัตราการบีบ 3:1 หรือ 6:1 คุณภาพเสียงไม่ดีเท่าที่ควร

A-law ADPCM บีบอัดข้อมูลได้ 16 บิต อัตราการบีบอัด 2:1 บีบอัดข้อมูลได้ 8 บิต หรือ 16 บิต อัตราการบีบอัด 2:1

Adding sound to multimedia project ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ ตัดสินใจจะใช้เสียง แบบ MIDI หรือ Digital ที่ไหนเมื่อไหร่ พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งาน นำข้อมูลเสียงมาทำงการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับมัลติมีเดีย ทดสอบความสัมพันธ์กับภาพในมัลติมีเดียที่ผลิตขึ้น

Sound on Network Download Streaming แสดงเสียงขณะใช้งานบนระบบเครือข่าย คุณภาพเสียงจะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย ไฟล์ที่นิยมนำมาใช้กันคือ AU,WAV,MIDI,MPEG,MP3