ฟังก์ชั่นในภาษาซี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Library Function.  x เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ คอลัมน์บนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 80  y เป็นตัวเลขที่กำหนดตำแหน่งของ แถวบนหน้าจอ มีค่าตั้งแต่ 1 – 25.
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
ฟังก์ชั่น function.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
SCC : Suthida Chaichomchuen
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายงาน เรื่อง การป้อนข้อมูลและแก้ไขข้อมูล โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
โครงสร้าง ภาษาซี.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟังก์ชั่นในภาษาซี

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่นที่เก็บไว้ใน I/O library ได้แก่ฟังก์ชั่น getchar(),getch(),putchar(),gets(),puts() เป็นต้น ซึ่งคำสั่งเหล่านี้เมื่อจะใช้ต้องบอกให้ตัวแปลชุดคำสั่งภาษาซีทราบก่อนโดยใช้คำสั่ง #include <stdio.h> โดยเอาไว้ในส่วนหัวของโปรแกรม

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น printf() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการแสดงผลของข้อมูล,ตัวแปร,ค่าคงที่ ออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ รูปแบบ printf (สายอักขระ) ; printf (“รูปแบบ”,อากิวเมนต์1,อากิวเมนต์2,.. ) ; เช่น printf ("One = 1 two = 2") ; printf ("One = %d two = %d", 1, 2) ;

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น scanf() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร รูปแบบ scanf ( “รูปแบบ” , อาร์กิวเมนต์1, อากิวเมนต์2,..) ; scanf (“%d0/%d/%d”, &day, &month, &year); ข้อมูลที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ 20/7/2001

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น getchar() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับข้อมูลเข้ามาแป้นพิมพ์ทีละ 1 ตัวอักษร โดยเมื่อป้อนข้อมูลเสร็จแล้วต้องกด ENTER ทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดข้อมูล และข้อมูลที่ป้อนจะปรากฎให้เห็นบนหน้าจอภาพด้วย รูปแบบ getchar()

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น getch() เป็นฟังก์ชั่นที่มีการทำงานเหมือนกับคำสั่ง getchar() แต่เมื่อกดแล้วไม่ต้องกดปุ่ม ENTER และจะไม่มีการแสดงตัวอักษรที่กดให้เราเห็น รูปแบบ getch()

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น putchar() เป็นฟังก์ชั่นที่แสดงผลบนจอภาพทีละ 1 ตัวอักษร รูปแบบ putchar(var) โดย var คือค่าที่ต้องการแสดงซึ่งต้องมีขนาด 1 ตัวอักษร

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น gets() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับข้อมูลที่เป็นข้อความจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรชุด รูปแบบ gets(n) โดย n เป็นชื่อตัวแปรชุดที่ต้องการรับค่าที่เป็นข้อความเข้ามาเก็บไว้ โดยตัวสุดท้ายจะเก็บ \0 เอาไว้ เพื่อบอกถึงการสิ้นสุดข้อความเมื่อเรากด ENTER

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ _stdio.h ฟังก์ชั่น puts(n); เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่เป็นข้อความออกทางจอภาพ รูปแบบ puts(n) โดย n เป็นชื่อตัวแปรชุดที่ต้องการแสดง โดยในการรับข้อมูลที่เป็นตัวแปรชุดนั้น ถ้าเราใช้คำสั่ง scanf() นั้นถ้าเราต้องการเว้นวรรค ในตัวแปรชุดนั้นจะทำไม่ได้เครื่องจะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน เช่น ต้องการเก็บ ชื่อและนามสกุลไว้ในตัวแปรที่ชื่อว่า name เราจะเว้นวรรคระหว่าง ชื่อและนามสกุลไม่ได้ เครื่องจะถือว่าเป็นคนละตัวแปร แต่ในการใช้ฟังก์ชั่น gets() นั้นเราสามารถ เว้นวรรคได้ โดยเครื่องยังถือว่าเป็นตัวแปรชนิดเดียวกัน เครื่องจะรู้ว่าสิ้นสุดข้อความที่ผู้ใช้ป้อนก็ต่อเมื่อผู้ใช้กดปุ่ม ENTER เท่านั้น

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h เป็นคำสั่งที่ใช้ในการล้างหน้าจอแล้วให้เคอร์เซอร์ไปอยู่มุมบนซ้ายของ จอภาพ รูปแบบ clrscr();

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง gotoxy() เป็นคำสั่งที่สั่งให้เคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ รูปแบบ gotoxy(x,y); โดย x เป็นตำแหน่งในแนวนอนหรือเป็นคอลัมน์ที่ต้องการ ส่วน y เป็นตำแหน่งในแนวตั้งหรือตำแหน่งแถวที่ต้องการ

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง clreol() เป็นคำสั่งในการลบข้อความในบรรทัดที่เคอร์เซอร์อยู่ โดยเริ่มลบจากตำแหน่งตัวชี้อยู่ไปจนจบบรรทัดนั้น รูปแบบ clreol();

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง delline() เป็นคำสั่งที่ใช้ในการลบข้อความในบรรทัดที่เคอร์เซอร์อยู่และจะเลื่อนบรรทัดที่อยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่ รูปแบบ delline();

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง textcolor() เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตั้งค่าหรือสีของตัวอักษรที่เราต้องการแสดง รูปแบบ textcolor(a); โดย a เป็นชนิดของสีที่ต้องการแสดง

คำสั่ง textbackground() คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง textbackground() เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตั้งค่าหรือสีของพื้นที่เราต้องการแสดง รูปแบบ textbackground(a); โดย a เป็นชนิดของสีที่ต้องการแสดง

คำสั่งที่อยู่ใน header file ที่ชื่อ conio.h คำสั่ง cprintf() เป็นคำสั่งที่ใช้ในการแสดงผลเหมือนกับคำสั่ง printf() เพียงแต่ไม่แสดงบนจอภาพแต่จะแสดงในหน้าต่างแทน ซึ่งจะมีรูปแบบเหมือนกับคำสั่ง printf()