กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การรักษาและคุ้มครองผู้บริโภค
Advertisements

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
1. การบริหารจัดการข้อมูลธุรกิจ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
ธุรกิจให้เช่าที่อยู่อาศัย
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การรับฟังพยานหลักฐาน
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การเขียนเชิงกิจธุระ.
บทที่ 3 กฎหมายและจริยธรรมที่ เกี่ยวข้อง รายวิชา การจัดการความปลอดภัยในระบบ คอมพิวเตอร์ อาจารย์พลอยพรรณ สอนสุวิทย์
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
1. ส่วนข้อมูลนำเข้า 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล 3. ส่วนสารสนเทศ.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปัญหาการพิจารณาและกำหนด สถานะทางกฎหมาย การจัดการต่อนิติสัมพันธ์ที่ เกิดขึ้นในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ปัญหาประสิทธิภาพในการ บังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการพิจารณาบ่อเกืด.
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
ประเด็น ( ปัญหา ) ที่เกี่ยวข้องกับ ความผิด (Liability) ประเด็น ( ปัญหา ) ที่เกี่ยวกับ คุณภาพของระบบ : คุณภาพข้อมูลและ ความผิดพลาดจากระบบ (Data quality.
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
Pattanachai Huangkaew Kapchoeng Wittaya School
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law) Apirada Thadadech E-Law.ppt

ปัญหาในการประกอบกิจการ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศยังมีไม่เพียงพอ ปัญหาในด้านความปลอดภัย (Security) ปัญหาในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปํญญา (Intellectual Property) ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานทางกฏหมาย

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Data Interchange Law- EDI) 2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures Law) 3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law) 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( Data Protection Law) 5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime Law)

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Data Interchange Law- EDI) เพื่อรับรองสถานะ ทางกฎหมาย ของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆโดยเฉพาะในวงการค้าการ ขนส่งระหว่างประเทศทำให้สามารถทำธุรกิจได้อย่างไม่มีข้อจำกัดทั้งด้านเวลา และสถานที่ โดยการใช้มาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไปในรูปแบบ(format) และโครงสร้างข้อมูลที่ส่งถึงกัน

ประโยชน์ของกฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์กำลังคน และ เวลา ลดความผิดพลาด เพิ่มประสิทธิภาพในธุรกรรม ขยายโอกาสทางธุรกิจ

ปัญหากฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ความสมบูรณ์ของเนื้อหาทางกฎหมาย ลายเซ็น ลายลักษณ์อักษร รวมถึงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่ เอกสารต้นฉบับ พยานหลักฐาน การเกิดขึ้นของสัญญา ที่ไหน เมื่อไร

สาระสำคัญของกฏหมาย ตามกฎหมายต้นฉบับของคณะกรรมการว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศแห่ง สหประชาชาติดังนี้ หมวดที่1 บททั่วไป ขอบเขต คำนิยาม การตีความ และการกำหนดโดย ข้อตกลง หมวดที่2 ข้อกำหนดทางกฎหมายต่อรูปแบบของข้อมูล การรับรองรูปแบบข้อมูล ลายเซ็น ลายลักษณ์อักษร ต้นฉบับ พยานหลักฐาน การเก็บรักษาข้อมูล หมวดที่ 3 การส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การเกิดและความสมบูรณ์ของสัญญา การรับรองของคู่สัญญา การรับข้อมูล เวลาสถานในการรับส่งข้อมูล

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงคมนาคม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใช้ลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใดๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความ เชื่อมั่น มากขึ้นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกำหนดให้มีการกำกับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures) หรือ ลายเซ็นดิจิตอล ( Digital Signatures) คือ กลุ่มของตัวเลขที่เกิดจากการเข้ารหัสทางคณิตศาสตร์ในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยคอมพิวเตอร์ ทางกฎหมาย คือการทำเครื่องหมายบนข้อมูลดิจิตอลโดยการใช้รหัส ส่วนตัวโดยมีบุคคลภายนอกที่ทำหน้าที่รับรองว่าเป็นลายเซ็นของผู้เซ็นจริง ทางเทคนิค คือ ค่าทางคณิตศาสตร์ ที่ประทับบนข้อมูล โดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เชื่อมโยง Private key and Public key

สาระสำคัญ ประเภทของเอกสารที่จำเป็นต้องลงลายชื่อดิจิตอล การรับรองความถูกต้อง และการยกเลิก การรับรองความถูกต้องของหน่วยงานที่รับผิดชอบ การลงลายมือชื่อของนิติบุคคล และบุคคลธรรมดา การจดแจ้งทะเบียน ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่รับรองความถูกต้อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้และหน่วยงานที่รับรองความถูกต้อง

ประเทศที่มีกฎหมายลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น มาเลเชีย สหราชอาณาจักร

หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สำนักงายอัยการสูงสุด กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

5. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพื่อกำหนด กลไกสำคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงิน ระหว่าง สถาบันการเงินและระบบการชำระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความ เชื่อมั่นต่อระบบ การทำธุรกรรมทางการเงินและการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น

พัฒนาการของ เงิน การแลกเปลี่ยนสินค้า (Trade by Barter) เงินตรา (Chattel money) --> เหรียญ ธนบัตร เงินพลาสติก (Plastic Money) เงินอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Money)

ปัญหา เงื่อนไขสัญญา ส่วนมาก มักเป็นสัญญาสำเร็จรูป หรือเป็นสัญญาจำยอม ผู้บริโภคขาดอำนาจการต่อรอง การโอนเงิน ยังไม่มีกฏหมายเฉพาะในเรื่องพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการบอกยกเลิกการชำระเงิน วัน เวลา สถานที่ในการทำธุรกรรม การระเมิดสิทธิส่วนบุคคล เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดบกพร่อง

สาระสำคัญ รูปแบบและเจตนา และการพิสูจน์ในการชำระเงิน สิทธิของ เจ้าหนี้ และลูกหนี้ ที่ไม่สามารถชำระเงินได้ คำสั่งให้ ชำระ ยกเลิกการชำระเงิน ความรับผิดชอบในความเสียหายจากการโอนเงิน การใช้การโอนเงินโดยมิชอบ ข้อกำหนดการโอนเงินระหว่างประเทศ

หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

ประเทศที่มีกฎหมายการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เยอรมัน สหราชอาณาจักร

4.กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( Data Protection Law) เพื่อก่อให้เกิด การรับรอง สิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผย หรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ ในระยะ เวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ ในทาง มิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงกภรรักษาดุลยภาพระหว่าง สิทธิขั้นพื้นฐานใน ความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ

5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime Law) เพื่อกำหนดมาตรการ ทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำผิดต่อ ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายฉบับใดกำหนดว่าเป็นความผิด ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกัน สิทธิ เสรีภาพและการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม