Electrophilic Substitution of Benzene

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เลขยกกำลัง.
Advertisements

การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
Conductors, dielectrics and capacitance
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
ชนิดของ Carbon ในสารประกอบอินทรีย์
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
หั่ว ฉาย เหยิน เตอ กู้ ซื่อ
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
Intermolecular Forces
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
พันธะเคมี Chemical bonding.
Chemical Bonding I: Basic Concepts
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
คุณครูพรรณีคะ ครูเขมสิริได้ Attach งานที่จะให้ครูพรรณีช่วยดูแลในวันที่ 9 เมษายน 2550 แล้ว ครูช่วยเปิดดูด้วยนะคะ เป็น Power Point 4 slides ค่ะ ครูเขมสิริ
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 5 Alkyl Halides.
เขียนโดย David Meerman Scott.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Introduction to Metabolism
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เกมหาคู่ประเภทเดียวกัน
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
CONSISTENCY MATTERS เนื้อหาที่มีความสอดคล้องกัน จาก หัวข้อที่แล้ว จะเห็นได้ว่าเนื้อหาหรือเนื้อเรื่องของบาง องค์ประกอบจะไม่สอดคล้องกับ ส่ วนอื่นๆ.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
แปลเพลง Wrapped Up ( หลงใหล ) ประทานโทษที ถ้าจะดูหยาบคายไปหน่อย ประทานโทษที ถ้าจะดูหยาบคายไปหน่อยแต่ขอบอกว่าผมนั้นชอบท่วงท่าของคุณเหลือเกิน มองเห็นอะไร.
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
Heterocyclic Compounds
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Electrophilic Substitution of Benzene เป็นปฏิกิริยาการแทนที่ H ด้วย Electrophile (E+) E+ H + H+ H E จึงต้องทบทวนความหมายของ Electrophile ก่อน E+ = Electrophile Electron + love KKU-ขวัญใจ

กลไกการเกิดปฏิกิริยา (Mechanism) ต้องมีความรู้เรื่อง 1. การแตกพันธะแบบ Heterolytic cleavage ก่อน (ทบทวนนะจ๊ะ) 2. ทุกขั้นในการแตกพันธะต้องรู้ว่า atom ใดเป็นประจุ + (ขาด e) หรือ  (ได้ e) 3. Electron หรือ - เท่านั้นเป็นตัวเคลื่อนที่ไปหาประจุ + (+ ต้องไม่เคลื่อนที่) ลูกศรจึงออกจากอิเล็คตรอน (ประจุ - หรือ พันธะคู่ หรือ lone pair electron) ไปหา + เสมอ 4. Atom ใดที่มีประจุจะพยายามทำให้ตัวเองเป็นกลางเสมอ ถ้า - เจอ + ต่างอะตอมกันจะเกิดการสร้างพันธะใหม่ขึ้น ถ้า - เจอ + บนอะตอมเดียวกันประจุจะหายไปคือเป็นกลาง KKU-ขวัญใจ

+ H+ + + + + delocalization 2. Elimination 1. Addition H H E H E E+ H กลไกของปฏิกิริยามีสองขั้นตอนคือ 1. เกิดปฏิกิริยา Addition โดยอิเล็กตรอนออกจากพันธะคู่ไปหา E+ ทำให้เกิด C+ ทำให้อิเล็กตรอนจากพันธะคู่เกิด delocalization 2. H+ หลุดออกจาก C เพื่อให้เกิดเป็นพันธะคู่ + delocalization E + H+ 2. Elimination KKU-ขวัญใจ

ซึ่ง E+ = Br+, NO2+, SO3H+, R+ และ RC=O จะได้รู้ว่าประจุ + อยู่ที่อะตอมใด และลองหัดเขียนดูจะได้เข้าใจยิ่งขึ้นนะค่ะ KKU-ขวัญใจ