Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
8. ไฟฟ้า.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
งานและพลังงาน (Work and Energy).
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
วิทยาศาสตร์ Next.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ ทราบความสันพันธ์ของ ศักย์ไฟฟ้า กับ ปริมาณอื่นๆ ทราบถึง ความหนาแน่นพลังงาน

4.1 Energy Expended in Moving a Point Charge on Electric Field เราทราบว่าแรงทางไฟฟ้าของประจุ Q ในสนามไฟฟ้าคือ ส่วนประกอบของแรงในแนว ใดๆ ดังนั้นการออกแรงต้านแรงของสนามจะทำให้เกิดงานคือ

คือ งานที่ทำในการเลื่อนประจุ Q ในสนามไฟฟ้า ตามทาง L

A ΔL6 ΔL5 ΔL4 ΔL3 ΔL2 ΔL1 B

4.2 The Line Integral พิจารณา ประจุ Q เคลื่อนที่ตามทาง L ที่มีสนามไฟฟ้าคงรูป เขียนในรูปเวกเตอร์ สำหรับสนามคงรูป ( uniform field ) เมื่อจุด B เป็นจุดเริ่มต้น และ A เป็นปลายทาง

ดังนั้น จาก ดังนั้นเมื่อสนามคงรูป การหางานสามารถทำได้ง่าย และการ integral จะไม่ขึ้นกับเส้นทาง สำหรับสนามใดๆ เมื่อทำการ integral แล้วไม่ขึ้นกับเส้นทาง เราจะเรียกสนามนั้นว่า สนามอนุรักษ์ (Conservative field)

(a) เส้นทางตั้งฉากกับสนามเสมอ W=0 จงหางานจากการเคลื่อนประจุจากจุด aไป b ดังรูป(a) และ (b)ที่เกิดจากประจุเชิงเส้น (a) เส้นทางตั้งฉากกับสนามเสมอ W=0 คำถาม ถ้าเลื่อนประจุจากจุด bไป a งานเป็นอย่างไร

4.3 Definition of Potential Difference and Potential คือ งานที่ทำในการเลื่อนประจุทดสอบ Qt ต่อประจุ Qt (ในทิศทางที่เราพิจารณา) พิจารณาสนามไฟฟ้าที่เกิดจากจุดประจุ

สมมติว่า ต้องการหาความต่างศักย์จากระยะ rB เทียบกับระยะ rA

4.4 The Potential Field of a Point Charge ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดจากสนามไฟฟ้าของจุดประจุ ถ้าเราเคลื่อนประจุจากระยะอนันต์มาที่ระยะ r = rB

เรานิยามความต่างศักย์ไฟฟ้านี้เป็นศักย์ไฟฟ้าที่จุด B เนื่องจากศักย์ไฟฟ้าที่ระยะอนันต์ เป็น 0 ศักย์ไฟฟ้า บางครั้งอาจจะเทียบกับจุดอ้างอิงที่ไม่ใช่ศูนย์ก็ได้ เช่น โดยจะทราบค่า C1 ได้ ก็ต่อเมื่อ เราทราบว่าศูนย์โวลต์ของระบบที่ระยะ r ใด