ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Advertisements

โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
การติดต่อสื่อสาร.
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
การกระทำทางสังคม (Social action)
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
สื่อการสอนที่ทำให้การสอนงานคลินิกน่าสนใจ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
วิธีการทางสุขศึกษา.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
การสื่อสารเพื่อการบริการ
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
สื่อการเรียนการสอน.
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
สรรพสิ่งที่สามารถเก็บและค้นหาเพื่อสัมผัส ทางตา และ/หรือ หู และ/หรือ และหรือ จมูก และ/หรือ ปาก และ/หรือ การสัมผัส เราเรียกว่าอะไร ? ฐานข้อมูลสัญญาลักษณ์ประสบการณ์ข้อมูลสารสนเทศ.
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
บทที่ 10 การสื่อสารการตลาด
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
การสร้างสื่อ e-Learning
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
การผลิตรายการโทรทัศน์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
การนำเสนอสารด้วยวาจา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต 5414600546 สาขา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

ทฤษฎีการสื่อสาร การสื่อสาร (Communication) คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างบุคคลต่อบุคลหรือบุคคลต่อกลุ่ม โดยใช้สัญลักษณ์ สัญญาณ หรือพฤติกรรมที่เข้าใจกัน องค์ประกอบของการสื่อสาร ผู้รับสาร สื่อ หรือ ช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร ผู้ส่งสาร

ผู้ส่งสาร คือ ผู้ที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูล สารไปยังผู้รับสารโดยผ่านช่องทางที่เรียกว่า สื่อ ถ้าหากเป็นการสื่อสารทางเดียวผู้ส่งจะทำหน้าที่ส่งเพียงประการเดียว แต่ถ้าเป็นการสื่อสาร 2 ทาง ผู้ส่งสารจะเป็นผู้รับในบางครั้งด้วย ผู้ส่งสารจะต้องมีทักษะในการสื่อสาร มีเจตคติต่อตนเอง ต่อเรื่องที่จะส่ง ต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่จะส่งและอยู่ในระบบสังคมเดียวกับผู้รับ ก็จะทำให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ ข่าวสาร ในการะบวนการติดต่อสื่อสารก็มีความสำคัญ ข่าวสารที่ดีต้องแปลเป็นรหัส เพื่อสะดวกในการส่งการรับและตีความ เนื้อหาสารของสารและการจัดสารก็จะต้องทำให้การสื่อความหมายง่ายขึ้น สื่อหรือช่องทางในการรับสาร คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายสัมผัส และตัวกลางที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเช่น สิ่งพิมพ์ กราฟิก สื่ออิเลกทรอนิกส์ ผู้รับสาร คือ ผู้ที่เป็นเป้าหมายของผู้ส่งสาร การสื่อสารจะมีประสิทธิภาพ ผู้รับสารจะต้องมีประสิทธิภาพในการรับรู้ มีเจตคติที่ดีต่อข้อมูลข่าวสาร ต่อผู้ส่งสารและต่อตนเอง

รูปแบบจำลองการสื่อสาร 1 ลาสแวลล์ (Lasswell) 2 เบอร์โล (Berlo) 3 แชนนันและวีเวอร์ (Shannon and Weaver) 4 ออสกูดและชแรมม์ (Osgood and Schramm) 5 ชแรมม์ (Schramm) CLOSE

ลาสแวลล์ (Lasswell) โดยวิธีการและ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและ ช่องทางใด ไปยังใคร ด้วยผลอะไร ผู้ส่ง สาร สื่อ ผู้รับ ผล - ใคร คือ เป็นผู้ส่งหรือผู้ที่ทำการสื่อสาร - พูดอะไร คือ เนื้อหาที่สื่อสารออกไป - วิธีการและช่องทางใด เช่น ท่าทาง หรือใช้สื่อไฟฟ้า - ไปยังใคร คือ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับสาร - ด้วยผลอะไร คือ เมื่อผู้รับสารรับสารจะเกิดผล ตอบสนองอย่างไรบ้าง

เบอร์โล (Berlo) แบบจำลอง SMCR ของเบอร์โล จะให้ความสำคัญในปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลทำให้การสื่อสารประสบผลสำเร็จได้แก่ ทักษะในการสื่อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระบบสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งผู้รับละผู้ส่งต้องมีตรงกันเสมอ

แชนนันและวีเวอร์ (Shannan and Weaver) ให้ความสำคัญกับ "สิ่งรบกวน" (Noise) เพราะในการสื่อสารหากมีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นก็จะเป็นอุปสรรคต่อการสื่อสาร เช่น หากอาจารย์ใช้ภาพเป็นสื่อการสอนแต่ภาพนั้นไม่ชัดเจนหรือเล็กเกินไปก็จะทำให้ผู้เรียนเห็นไม่ชัดเจนทำให้เกิดการไม่เข้าใจ

ออสกูดและชแรมม์ (Osgood and Schramm) การกระทำของผู้ส่งและผู้รับซึ่งทำให้ที่อย่างเดียวกันและเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในการเข้ารหัสสารการแปลความหมายและการถอดรหัสสารอย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าหน้าที่ในการเข้ารหัสนั้นมีส่วนคล้ายคลึงกับตัวถ่ายทอดและการถอดรหัสก็คล้ายคลึงกับการับของเครื่องรับนั่นเอง

ชแรมม์ (Schramm) แบบที่ 1 อธิบายการสื่อสารเป็นกระบวนการเส้นตรงประกอบด้วย ผู้ส่ง การเข้ารหัส สัญญาณ การถอดรหัส และผู้รับ แบบที่ 2 อธิบายกระบวนการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับสารมีประสบการณ์บางอย่างร่วมกัน ทำการสื่อสารอยู่ภายใต้ขอบเขตประสบการณ์ของแต่ละฝ่าย แบบที่ 3 ในกระบวนการสื่อสาร จะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สื่อสาร อันเกิดจากการที่ทั้งสองฝ่ายต้องทำงานเหมือนกันในระหว่างที่ทำการสื่อสารเป็น กระบวนการสื่อสารแบบวงกลม

ขอบคุณค่ะ ที่มา : กิดานันท์ มลิทอง 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.