การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
อนุกรมกำลัง (power series)
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
MATLAB Week 7.
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบสมการหลายตัวแปร
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอินติกรัลเชิงตัวเลข การหาค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข อ.ดร.ชโลธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
Treatment of Experimental result
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
ระบบกฎของ FUZZY.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
เฉลยแบบทดสอบ วิชา การจัดการโครงการซอฟต์ปแวร์
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration

การประมาณค่าอินทิกรัล ในการคำนวณค่าอินทิกรัล จากความรู้เรื่องแคลคูลัส ถ้าให้ แทนปฏิยานุพันธ์ของ f(x) จะได้ว่า

การประมาณค่าอินทิกรัล แต่มีบางครั้งที่เราไม่สามารถหาค่าอินทิกรัลได้ แม้จะใช้ เทคนิคต่างๆในการอินทิเกรต เช่น ดังนั้นเมื่อไม่สามารถหาคำตอบได้โดยตรงเราจึงใช้การ ประมาณค่าคำตอบโดยใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขเข้ามาช่วย

2. Simpson’s 1/3-Rule : Quadratic 3. Simpson’s 3/8-Rule : Cubic การประมาณค่าอินทิกรัล 1. Trapezoid Rule 2. Simpson’s 1/3-Rule : Quadratic 3. Simpson’s 3/8-Rule : Cubic

กฎสี่เหลี่ยมคางหมู : Trapezoid Rule x0=a x1 x2 x3 xn==b Area of Trapezoid: ดังนั้นหากต้องการค่าอินทิกรัลทั้งหมดให้นำพื้นที่สี่เหลี่ยมทุกอันมารวมกัน

กฎสี่เหลี่ยมคางหมู : การประมาณค่าพื้นที่

กฎสี่เหลี่ยมคางหมู : การประมาณค่าพื้นที่ h=b-a a b a b x1

ตัวอย่าง จงประมาณค่าอินทิกรัลต่อไปนี้โดยใช้วิธีกฏสี่เหลี่ยมคางหมู โดยใช้ n = 4 และ n = 8 (ให้ตอบเป็นทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

วิธีทำ กำหนดให้ n=4 : จะได้ว่าจำนวนช่วงหาได้จาก ดังนั้นจะได้ช่วงคือ X=0 X=8 X=2 X=4 X=6

วิธีทำ กำหนดให้ n=8 : จะได้ว่าจำนวนช่วงหาได้จาก ดังนั้นจะได้ช่วงคือ X=0 X=8 X=2 X=4 X=6 X=1 X=3 X=5 X=7

พิจารณาค่าจริง ค่าจริง ให้ u = x+1 du = dx จะเห็นได้ว่า หากเราแบ่งส่วนให้มากขึ้นค่าของผลลัพธ์ที่ได้จะยิ่งใกล้ค่าจริงมากขึ้น

ตัวอย่าง จงประมาณค่าอินทิกรัลต่อไปนี้โดยใช้วิธีกฏสี่เหลี่ยมคางหมู โดยใช้ n = 4 และ n = 8 (ให้ตอบเป็นทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

ตัวอย่าง จงประมาณค่าอินทิกรัลต่อไปนี้โดยใช้วิธีกฏสี่เหลี่ยมคางหมู โดยใช้ n = 4 และ n = 8 (ให้ตอบเป็นทศนิยม 4 ตำแหน่ง) เมื่อกำหนดข้อมูลให้ดังตารางต่อไปนี้

x f(x) 0.0000 1.0000 0.1250 1.1331 0.2500 1.2840 0.3750 1.4550 0.5000 1.6487 0.6250 1.8682 0.7500 2.1170 0.8750 2.3989 2.7183

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule สูตรที่ใช้ในการ คำนวณคือ

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule กำหนดให้ โดยที่ f2(x) คือสมการพหุนามดีกรีสองที่กำหนดโดย

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule เลือกจุด 3 จุดมาใช้ในการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ a0 ,a1 และ a2 จาก และ

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule แก้สมการ 3 ตัวแปร เพื่อหา a0 ,a1 และ a2 จะได้ และ

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule จาก

กฎของซิมพ์สัน 1/3 : Simpson’s 1/3-Rule แทนค่า a0 ,a1 และ a2 จะได้ ดังนั้น

ตัวอย่าง จงใช้วิธีซิมป์สัน 1/3 ประมาณค่าคำตอบของ โดยใช้ n = 4 และ n = 6 (คิดทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

วิธีทำ กำหนดให้ n=4 : จะได้ว่าจำนวนช่วงหาได้จาก ดังนั้นจะได้ช่วงคือ X=0 X=2 X=0.5 X=1 X=1.5

วิธีทำ กำหนดให้ n=6 : จะได้ว่าจำนวนช่วงหาได้จาก ดังนั้นจะได้ช่วงคือ X=0 X=2 X=1/6 X=1/3 X=1/2 X=2/3 X=5/6

ตัวอย่าง จงใช้วิธีซิมป์สัน 1/3 ประมาณค่าคำตอบของ โดยใช้ n = 4 และ n = 6 (คิดทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

กฎของซิมพ์สัน 3/8 : Simpson’s 3/8-Rule การหาสูตรของซิมป์สัน 3/8 จะใช้หลักการเดียวกันกับซิมป์สัน 1/3 แต่จะใช้จุดเริ่มต้นในการคำนวณ 4 จุดและแก้สมการ 4 ตัวแปร กำหนดให้ โดยที่ f3(x) คือสมการพหุนามดีกรีสองที่กำหนดโดย

กฎของซิมพ์สัน 3/8 : Simpson’s 3/8-Rule เมื่อแก้สมการจะได้สูตรในการคำนวณซิมป์สัน 3/8 ดังนี้

ตัวอย่าง จงใช้วิธีซิมป์สัน 3/8 ประมาณค่าคำตอบของ โดยใช้ n = 6 (คิดทศนิยม 4 ตำแหน่ง)

วิธีทำ กำหนดให้ n=6 : จะได้ว่าจำนวนช่วงหาได้จาก ดังนั้นจะได้ช่วงคือ X=0 X=3 X=0.5 X=1 X=1.5 X=2 X=2.5

ตัวอย่าง จงใช้วิธีซิมป์สัน 1/3 และ 3/8 ประมาณค่าคำตอบของ โดยใช้ n = 6 (คิดทศนิยม 4 ตำแหน่ง)