ระบบสุขภาพ และความต้องการงานวิจัยเชิงระบบและเชิงนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai
Advertisements

INTRODUCTION TO HEALTH ECONOMICS
EC451 International Trade Theory and Policy
Development Communication Theory
การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
(Screening for possible health impact)
ข้อมูล และ หน่วยงาน วิจัยเชิงระบบและนโยบาย
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การบริหารคุณภาพองค์กร
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ข้อเสนอ การพัฒนาระบบควบคุมและป้องกันโรค
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
Information Technology
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
รพสต ชุดบริการ.
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
Strategic management Business Concept Business Model
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
หลักประกันสุขภาพไทย เป็นอย่างไรในสายตานานาชาติ
Management of Information System
Health System Reform.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กระบวนการวิจัย Process of Research
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
วิธีการคิดวิเคราะห์.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
ADDIE Model.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
มหาวิทยาลัยวิจัยไทย : แนวคิด ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ และ บทบาทของนักวิชาชีพไทยใน ต่างประเทศต่อการพัฒนา วันชัย ดีเอกนามกูล คณะกรรมการอำนวย และ คณะกรรมการ.
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
Public Health Nursing/Community Health Nursing
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสุขภาพ และความต้องการงานวิจัยเชิงระบบและเชิงนโยบาย 20 ธันวาคม 2553 จเร วิชาไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข charay@hsri.or.th

ขอบเขตและเป้าหมายระบบสุขภาพ

ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ

ยังมีอีกหลาย frameworks ลอง review ดูได้ครับ

ความต้องการงานวิจัยเชิงระบบ 1 Demand vs Needs ความต้องการของใคร ? ประชาชน กลุ่มไหน ? กลุ่มทั่วไป กลุ่มเฉพาะ กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มประชากรตามพื้นที่? NGOs นักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญ Policy makers องค์กรนโยบาย นักการเมือง ความท้าทายปัจจุบันและอนาคต สำรวจให้รอบๆ ข้อมูลๆๆๆ วิจัยเพื่อกำหนดปัญหา (problem addressing) อะไรกำลังจะเกิดขึ้น และจะเกิดผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม (ดูจาก building blocks)

ความต้องการงานวิจัยเชิงระบบ 2 Supply side ความรู้เดิมที่มีตอบอะไรได้ ค้นๆๆๆ แล้วเรามีอะไร นักวิจัย ความเชี่ยวชาญด้านไหน ข้างนอกองค์กรเรามีอะไร เอ…จะเชื่อมกับเขาหรือป่าว แล้วเรื่องอะไร ทำวิจัยร่วมกันดีไม๊ เขาจะทำวิจัยซ้ำกับเราหรือไม่

ความต้องการงานวิจัยเชิงระบบ 3 ไตร่ตรอง คิดๆๆ วิเคราะห์ สอบถาม จัดประชุมกระบวนการ องค์กร กลุ่มที่น่าจะเกี่ยวข้อง (นักวิจัย ผู้ใช้หรือน่าจะใช้ผลวิจัย คนให้ตังค์ องค์กรที่น่าจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง) ร่วมกันกำหนด research agenda (priority) ใครจะทำอะไรกันบ้าง เราจะทำอะไร เราจะทำงานร่วม เสริม ต่างคนต่างทำ แต่ไม่ซ้ำซ้อน จะบริหารอย่างไร

ความต้องการงานวิจัยเชิงระบบ 4 ยังงงๆ รู้สึกยังมีอะไรขาดอยู่ ….. ประชุมกันอีกเชิญคนใหม่ๆ เข้ามาให้ความเห็น สร้าง commitment สัญญาลูกผู้ชาย เครื่องมือรองรับ เช่น MOU agreements อื่นๆ สำคัญคือ แหล่งทุน Essential Health Research Agenda บทบาทใครจะทำอะไรกันบ้าง อย่าลืม….กลไกบริหารการจัดการประสาน

ที่กล่าวมา……..คือ Research Priority ปัจจุบันและอนาคต National Regional Provincial Community คลุมทั้งหมดได้ แต่อาจไม่ทั้งหมด ปัจจุบันและอนาคต มอง agenda ใหญ่ มอง agenda เรา (ระดับพื้นที่) รู้ทั้งใหญ่และเล็ก แล้วตัดสินใจ เราจะทำอะไร จะทำอย่างไร (กลับไปดูคำแนะนำ slide ข้างต้น)

ช่วยบอกหน่อยได้ไหม? National Research Agenda เข้า www.hsri.or.th ลองไปดูยุทธศาสตร์วิจัย วช กว้าง นะ เข้า www.hsri.or.th ยุทธศาสตร์วิจัยระบบสุขภาพ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ กรอบเป้าหมายที่ระบบอยากจะเคลื่อนตัวไป แล้วพื้นที่มีอะไรอยู่…….? จะลองทำกระบวนการกำหนด health systems research priority กันไม๊ หรือว่ามีอยู่แล้ว ถ้ามีจะเชื่อมกับแผนใหญ่ต่างๆอย่างไร… Consultation process กันไม๊ Recommendation Regional health systems research agenda Alliance of health systems and policy research

ความท้าทายอนาคต….ต่อการวิจัยระบบสุขภาพ Multisite research Multidisciplinary research Obsolete sole research More Outcome based research Informed choices E.g. Self-management research Areas in political conflict & violence Greater equity to care helps strengthen government accountability Economies of scale (research) Economies of scope (research) Longitudinal study – cohort Governance and institutional relationships Effects of ongoing changes of Delivery system structure Financing staffing

Technology and its inter-phase to health systems What possible agenda Aging population Electronic medical information systems Telemedicine Health at home “Micro” Approach to Answer Unresolved “Macro” Questions Consumer device / technology Technology led health systems or vice versa (health systems led technology)

Biomed, Hlth Tech & Hlth Systems Research: becoming closer – creating value chain

กลุ่มโจทย์วิจัยที่ยังน่าทำ 1 System boundaries and organization Impact of consolidation / regionalization Comparative effectiveness of governance structures Impact of modernizing public health laws Impact of organizational capacity and accreditation Nongovernmental contributions and inter-organizational relationships

กลุ่มโจทย์วิจัยที่ยังน่าทำ 2 Financing and economics Comparative effectiveness of alternative financing mechanisms Efficiency in public health delivery systems Workforce Comparative effectiveness of alternative staffing levels and models Innovative research for health measurement Health systems evaluation learning systems need feedback for continuing improvement

Health Research Translation ยังเป็นอุปสรรคและความท้าทาย Translating research into policy action Limited evidence in research having impact on health policy development but evidence-based medicine having more evidence Post-modern questioning of researchers’ authority Relationship models between research and policy From conventional to “enligthenment” or “infiltration” (conceptual level)

Enligthenment model Large scale require Evaluations Remember Methological pluralism Greater focus on key institutional structures Communication & Dissemination Evaluations More influential if research commissioned by health authorities and based on local collection of data Remember Researchers, only one of the groups of experts making competing claims Clear research findings not always a passport to policy but researchers can reframe the way health policy issues are seen, and collaboration with policy-makers initially Davis R & Howden-Champman P. Translatiing research findings into health policy. Soc Sci Med. 1996; 43 (5): 865-872.

18

#31 chronic diseases 19

Deaths attributed to 19 leading factors, by country income level, 2004

Management of chronic disease Health care workers 21

Management of chronic disease Self management +/- carer & family +/- community 22

Barrette, M. J. (2005). Patient Self-Management Tools: Overview Barrette, M.J. (2005). Patient Self-Management Tools: Overview. California HealthCare Foundation.

Why developed countries increasingly invested in IT for SMS Individualistic culture high cost of HR more educated / literate people May not work for all for sure Piette. J.D. (2007). Interactive Behavior Change Technology to Support Diabetes Self-Management. Diabetes Care. 30(10): 2525-2432. 24

ขอบคุณครับ