นางสาว สิริภรณ์ คลังชำนาญ เลขที่ 23 แนวคิด ปรัชญาที่เป็นประโยชน์ จัดทำโดย นางสาว สิริภรณ์ คลังชำนาญ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกปีที่ 4/1
“ข้อความทุกข้อความที่เราเข้าใจต้องประกอบขึ้นด้วยส่วนประกอบที่เราคุ้นเคยเท่านั้น” เบอร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ Bertrand Arthur William Russell
ประวัติ รัสเซลล์เป็นเด็กกำพร้า ตั้งแต่ 2 ขวบ และอาศัยอยู่กับปู่ย่า รัสเซลล์เป็นเด็กที่เรียนดีมาก แต่เขาต้องเรียนที่บ้านเนี่องจากย่าเป็นห่วงความปลอดภัยของเขา ย่าของรัสเซลเคร่งเรื่องการเรียนของเขาทำให้เขาเป็นเด็กค่อนข้างหัวรุนแรง อายุ 11 ขวบ เขาได้เริ่มสนใจเรื่องศาสนาอย่างจริงจัง อายุ 18 ปี รัสเซลเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เขาไม่พอใจในการสอนแบบโปราณของมหาลัย จึงคิดวิธปรับเปลี่ยนการสอน สามปีต่อมา เขาได้รับ ปริญญาเกียรตินิยมสาขาคณิตศาสตร์ และสมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมเกี่ยวกับการเผยแพร่ศาสนาชื่อ “The Apostles”
ประวัติ รัสเซลล์เป็นเด็กกำพร้า ตั้งแต่ 2 ขวบ และอาศัยอยู่กับปู่ย่า รัสเซลล์เป็นเด็กที่เรียนดีมาก แต่เขาต้องเรียนที่บ้านเนี่องจากย่าเป็นห่วงความปลอดภัยของเขา ย่าของรัสเซลเคร่งเรื่องการเรียนของเขาทำให้เขาเป็นเด็กค่อนข้างหัวรุนแรง อายุ 11 ขวบ เขาได้เริ่มสนใจเรื่องศาสนาอย่างจริงจัง อายุ 18 ปี รัสเซลเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เขาไม่พอใจในการสอนแบบโปราณของมหาลัย จึงคิดวิธปรับเปลี่ยนการสอน สามปีต่อมา เขาได้รับ ปริญญาเกียรตินิยมสาขาคณิตศาสตร์ และสมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมเกี่ยวกับการเผยแพร่ศาสนาชื่อ “The Apostles”
ปีถัดมา รัสเซลล์สนใจเรียนวิชาปรัชญาอีกสาขาหนึ่งนักปรัชญาที่เขาสนใจผลงานมากที่สุด คือ เฮเกล และบรัดเลย์ และได้คว้าปริญญาเกียรตินิยมอันดับ 1 เขาได้รวบรวมคำบรรยายของเขาตีพิมพ์เป็นเล่ม ชื่อ ประวัติศาสตร์แห่งปรัชญาตะวันตก (History of Western Philosophy) ซึ่งได้กลายเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดทั้งในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา รัสเซลเคยได้รับ รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950)
ปรัชญาของรัสเซลล์ แนวปรัชญาของรัสเซล ไม่คงตัว ซึ่งพอจะแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ ระยะอุดมการณ์นิยม ระยะสัจนิยมและปรมาณูทางตรรกะ ระยะสัจนิยมและสร้างสรรค์นิยมทางตรรกะ ระยะสัจนิยมและสร้างสรรค์นิยมของมนัส
ระยะสัจนิยมและปรมาณูทางตรรกะ ระยะสัจนิยมและปรมาณูทางตรรกะ ท่านมีความเชื่อมั่นว่า ภาษาในอุดมการณ์ (ideal language) จะต้องตรงกับความเป็นจริง ภาษาในอุดมการณ์นี้ได้มาโดยอาศัยหลักความคุ้นเคย (principle of acquaintance) อันเนื่องมาจากประสบการณ์ ตั้งสูตรขึ้นว่า“ ข้อความทุกข้อความที่เราเข้าใจต้องประกอบขึ้นด้วยส่วนประกอบที่เราคุ้นเคยเท่านั้น” นั้นคือรัสเซลเชื่อว่าความคุ้นเคย (acquaintance) เป็นสิ่งค้ำประกันความแน่นอนของความรู้ของเรา และในทำนองนี้สิ่งที่เรามั่นใจได้ก่อนอื่นทั้งหมดมิใช่ข้อความ หรือความสัมพันธ์ (Logical construction) แต่เป็นข้อมูล (data) ซึ่งจะประกอบขึ้นเป็นข้อความปรมาณู (Logical statement)
อย่างไรก็ดี ต่อมารัสเซลเองเกิดสงสัยขึ้นมาว่า เราจะเอาอะไรมาตัดสินได้ว่าอะไรเป็นปรมาณูทางตรรกะ เราคุ้นเคยและคิดว่ามันง่ายที่สุดแล้วแต่ความจริงมันอาจจะถูกวิเคราะห์ต่อไปอีกก็ได้ ที่สุดรัสเซลก็ละความพยายามที่จะคิดอภิปรัชญา และสนใจที่จะค้นคว้าเรื่องราวความรู้ที่เขามีสมรรถภาพอยู่เท่านั้น พยายามให้ได้ใกล้ความเป็นจริงที่สุดก็พอแล้ว
ประโยชน์จากปรัชญาที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ในการคิดการคำนวณคณิตศาสตร์ กล่าวคือ เราต้องคุ้นเคยในการทำโจทย์คำนวณในเรื่องนั้นๆมาก่อน หากเราไม่คุ้นเคยใจส่วนประกอบของโจทย์ที่กำหนดมาให้ หรือเราไม่เคยเรียนมาเราก็จะไม่สามารถทำโจทย์นั้นๆได้ ใช้ในการวิเคราะห์โจทย์คณิตศาสตร์ กล่าวคือ การที่เราเข้าการตีความของโจทย์ว่ากล่าวถึงเรื่องอะไร เราต้องมีความคุ้นเคยในเรื่องนั้นๆมาก่อน จึงจะทราบ เช่น หากโจทย์ถามถึงเรื่องสับเซต เราต้องมีความเข้าใจ คุ้นเคยหรือเคยทราบมาก่อนว่าสับเซตนั้นต้องหาอย่างไร ทำอย่างไร เราจึงสามารถทำเรื่องสับเซตได้
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B9%8C_%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 อ้างอิง….
ขอบคุณค่ะ Thank you 감사합니다. ありがとう。 謝謝。