คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ทดลองสมัครฟรี ! Welcome Welcome
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
ความน่าจะเป็น Probability.
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
Computer Programming 1 6. โปรแกรมต่อไปนี้เป็นโปรแกรมสำหรับรับค่า N และรับจำนวนเต็มที่มีค่าระหว่าง 0 ถึง 9 จำนวน N ตัว นับจำนวนเต็มแต่ละค่าที่ป้อนแล้วแสดงผล.
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การสร้างคำถาม.
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
Probability & Statistics
Probability & Statistics
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
บทที่ 1 อัตราส่วน.
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
วิชาคณิตศาสตร์ (แคลคูลัส) รหัสวิชา ค30102
วิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
เศษส่วน.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
คุณสมบัติการหารลงตัว
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การแจกแจงปกติ.
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ตัวแทนรวบรวมเอกสาร CAT CDMA. คุณสมบัติของตัวแทนฯ  เป็นนิติบุคคล  ทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 400,000 บาท  ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบสื่อสารหรือ คอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
เรื่อง หัวข้อโครงงานวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
Risk Management Strategy
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การรวมธุรกิจ.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Flowchart การเขียนผังงาน.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน โดย นางสาวชนินทร รัตนเวชสิทธิ ชั้นม.4/1 เลขที่10 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงษ์พัฒน โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก

จาคอบ เบอร์นูลี่ (Jacob Bernulli) เขาสร้างวิธีไว้โดย เป็นสูตรอยู่ในรูปของความน่าจะเป็น

= BINOM.DIST(number_s,trials,probability_s,cumulative) Cumulative     ค่าตรรกะที่กำหนดรูปแบบของฟังก์ชัน ถ้า cumulative เป็น TRUE แล้ว BINOM.DIST จะส่งกลับฟังก์ชันการแจกแจงสะสม ซึ่งเป็นความน่าจะ เป็นที่มี ความสำเร็จไม่เกิน number_s ครั้ง และถ้าเป็น FALSE จะ ส่งกลับฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่มี ความสำเร็จ number_s ครั้ง

ฟังก์ชั่นของไมโครซอฟท์เอกซ์เซล

การใช้ฟังก์ชัน =binomdist() ตัวอย่าง โอกาสที่เหรียญบาทจะออกก้อยอย่างน้อย 10 ครั้ง ในการโยนเหรียญทั้งหมด 20 ครั้งจะเป็นเท่าใด ปัญหาลักษะนี้สามารถใช้ฟังก์ชันนี้ในการแก้ปัญหา โดยเพียงป้อนคำสั่งในเอกเซลล์ด้วย =binomdist (9,20,50%,true) ซึ่งหมายความว่าโอกาสที่เหรียญจะออกก้อยไม่เกิน 9 ครั้งใน 20ครั้ง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เมื่อป้อนค่านี้ลงไปจะได้เท่ากับ 0.41 ดังนั้น โอกาสที่เหรียญจะออกก้อยอย่างน้อย 10 ครั้งขึ้นไป = 1-0.41 = 0.59

การเชิญแขกมางาน หากต้องการทราบ จำนวนแขกที่มาในงานเลี้ยงก็สามารถที่จะใช้สูตรนี้ได้เช่นกัน เพราะแขกที่มาในงานเลี้ยง จะมาหรือไม่นั้น ก็เปรียบเหมือนกับ การโยนเหรียญ สมมุติว่า ถ้าแจกบัตรเชิญแขกไปทั้งสิ้น 200 ใบ และ คาดการณ์ว่าแขกจะมาร่วมงานอยู่ 70% ด้วยกัน ดังนั้นน่าจะจองที่นั่งไว้ 140 ที่ (เพราะคิดว่า 70% ของ 200 คือ 140)

ในตัวอย่างนี้เราลองมาหาความน่าจะเป็นที่ แขกจะมาร่วมงานเกิน 140คน ดังนั้นเราจะใช้สูตร คือ 1-binomdist (140,200,70%,true) ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาจะมีค่าเท่ากับ 47% แสดงว่าจะมีโอกาสที่แขกนั้นจะมาล้นงานถึง  47% ซึ่งนับว่าสูงมาก และถือว่าเป็นความที่เสี่ยงที่สูงเกินไป

ดังนั้นหากเราต้องการที่ลดความเสี่ยงที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นมีวิธีที่สามารถทำได้อย่างไร เราสามารถลดความเสี่ยงลงได้ หากเราเพิ่มที่นั่งให้มากขึ้นจากเดิม ดังนั้นจึงเกิดคำถามต่อไปว่า ควรจะเพิ่มที่นั่งเท่าไร จำนวนที่นั่งจะเหมาะสมกับจำนวนแขกที่มางาน ซึ่งผลการคำนวณจากตัวอย่างที่แล้ว เมื่อทำการจองที่นั่งไว้ 140 ที่ จำนวนแขกที่จะมาล้นงานสูงถึง 47% ซึ่งหากทำการเพิ่มค่าที่นั่งให้มากขึ้น ความน่าจะเป็นที่แขกมาล้นงานจะมีค่าดังนี้

1) เมื่อเพิ่มที่นั่งเป็น 145 จะต้องป้อนค่า =1-binomdist(145,200,70%,true) = 20% 2) เมื่อเพิ่มที่นั่งเป็น 150 จะต้องป้อนค่า =1-binomdist(150,200,70%,true) = 5% 3) เมื่อเพิ่มที่นั่งเป็น 155 จะต้องป้อนค่า =1-binomdist(155,200,70%,true) = 0.5%

จากผลการคำนวณจะเห็นว่า ควรจองที่นั่งเท่ากับ 155 ที่ เพราะโอกาสที่แขกจะมาล้นงานนั้นมีค่าน้อยที่สุด และไม่เป็นการเผื่อที่มากเกินไปอีกด้วย...

ที่มาจาก... http://vcharkarn.com/varticle/316 http://niyomtutor.blogspot.com/2011/10/blog-post_26.html