เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
Group Acraniata (Protochordata)
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
BIOL OGY.
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2
หนอนพยาธิ (Helminth).
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
การเจริญเติบโตของพืช
ประเภทของมดน่ารู้.
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร นายสังคม ณ น่าน โรงเรียนไม้ยาวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

เรียนรู้ข้อมูลเบื้องต้นของไส้เดือนแดง ไส้เดือนจัดอยู่ในไฟลั่ม “แอนเนลิดา” (Phylum: Annelida) ชั้นซีโตโพดา (Class: Chaetopoda) ตระกูล โอลิโกซีตา (Order: Oligochaeta) วงศ์แลมบริซิลี (Family: Lambricidae) โดยมีลักษณะทั่วไปจะ ไม่มีส่วนหัวที่ชัดเจน ไม่มีตา ไม่มีหนวด มีรูปร่างทรงกระบอกยาว หัวท้ายเรียวแหลม มีปล้องตามลำตัวซึ่งจะมีช่องคั่นแต่ละปล้องไว้และจะมีเดือยออกมาในแต่ละปล้องใช้สำหรับการเคลื่อนที่ มีระบบทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ คือมีปาก และ ทวารหนัก โดยมีลำไส้เป็นท่อตรงยาวตลอดลำตัว มี “เนฟริเดีย” เป็นช่องขับถ่ายของเสีย ระบบไหลเวียนโลหิตแบบปิด มีอวัยวะรับสัมผัส คือ ปุ่มรับสัมผัสและกลุ่มเซลล์รับแสง เป็นสัตว์ที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน คือ มีทั้งรังไข่และถุงอัณฑะ ถึงแม้จะมีสองเพศในตัวเดียว แต่ไส้เดือนมีลักษณะพิเศษที่ไม่สามารถสืบพันธุ์ในตัวเดียวกันได้

วงจรชีวิตไส้เดือน (มีอายุ 2-3 ปี)

เดือยหรือขน ( Setae )

ระบบผิวหนัง ผนังร่างกายของไส้เดือน ประกอบด้วย ชั้นนอกสุดคือ คิวติเคิล และถัดลงมาคือชั้นอิพิเดอร์มิส Epidermis Cuticle Longitudinal muscle Transverse muscle

ลักษณะทั่วไปของไส้เดือน

ลักษณะภายในของไส้เดือน

ปากไส้เดือน

เส้นเลือดของไส้เดือน

ลักษณะภายนอกไส้เดือน

การขยายพันธุ์ไส้เดือน

ภาพแนวตัดขวางของไส้เดือน

สถานที่ใช้ในการเลี้ยงไส้เดือน

วัสดุและอุปกรณ์การเลี้ยงไส้เดือน

อาหารเลี้ยงไส้เดือน

การเตรียมอาหารเลี้ยงไส้เดือน

ขั้นตอนวิธีการเลี้ยงไส้เดือน

การดูแลรักษาไส้เดือน ดูแลอุณหภูมิให้อยู่ในระหว่าง 18-32 องศาเซลเซียล ดูแลรักษาความชื้นให้อยู่ในช่วง 60-80 เปอร์เซนต์

การดูแลและให้อาหารไส้เดือน ดูแลให้อาหารทุก5-7วัน และ กลับกองไส้เดือนทุก 2 อาทิตย์

การขยายพันธุ์ไส้เดือน อายุ 3 เดือนไส้เดือน เริ่มผสมพันธุ์

การวางไข่ไส้เดือนหลังผสมพันธุ์ หลังผสมพันธุ์ไส้เดือน จะเริ่มวางไข่ ตัวละ 3-5 ฟอง ในไข่ 1ฟองจะมีไส้เดือน 3-5 ตัว

ศัตรูไส้เดือน

อาหารที่ไม่ควรเลี้ยงไส้เดือน

การเก็บปุ๋ยหมักจากไส้เดือน

การเก็บปุ๋ยน้ำชีวภาพจากไส้เดือน

การนำปุ๋ยน้ำชีวภาพจากไส้เดือนไปใช้ประโยชน์ ใช้เพิ่มผลผลิตพืชผักสวนครัวใช้ในอัตราส่วน 1:5 ฉีดพ่นหรือรดด้วยบัวรดน้ำ ทุก3 วัน ใช้เอนไซม์ไคติเนสในน้ำชีวภาพจากไส้เดือนรักษาโรคราแป้งใช้ในอัตรา 100 % ฉีดพ่นทุก 3 วัน

หน่วยงานราชการศึกษาดูงานการเลี้ยงไส้เดือน

ผู้ปกครองนักเรียนช่วยสร้างโรงเลี้ยงไส้เดือน โดยได้รับการสนับสนุนบริจาคกระเบื้องมุงหลังคา และอิฐบล็อคจากหมู่บ้าน

ได้รับงบประมาณสนับสนุนการก่อสร้างโรงไส้เดือน จากเทศบาลตำบลไม้ยาจำนวน 50,000 บาท

ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและนักเรียนใช้ความรู้เผยแพร่สู่ชุมชน

มูลนิธิศุภนิมิตโปรแกรม ADPขุนตาล สนับสนุนกล่องเลี้ยงไส้เดือน100 กล่อง

นักเรียนนำเสนองานเกษตรการเลี้ยงไส้เดือนระดับชาติ ปีการศึกษา 2555 นำเสนอ วิจัย สกว เรื่องเอนไซม์ไคติเนสในน้ำหมักชีวภาพจากไส้เดือนยับยั้งราแป้งบนต้นยางพาราและ โครงการ My Little Falm ครั้งที่ 4

รับงบประมาณจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจำนวนเงิน 10,000 บาทและการพัฒนาด้านวิชาการร่วมกับมหาวิทยาลัย

ได้รับรางวัลจากการนำเสนอโครงงานชีพระดับชาติ รางวัลเหรียญทองโครงงานอาชีพไส้เดือนกำจัดขยะสดระดับชาติปี 2553 รางวัลเหรียญทองโครงงานอาชีพมหัศจรรย์ไส้เดือนแดงเครื่องจักรแห่งชีวภาพระดับชาติปี 2554 รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.ระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านวิชาการ ระดับชาติปี 2555

สวัสดี ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยการปฏิบัติ ฝึกหัดให้เกิดความชำนาญ ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยการปฏิบัติ ฝึกหัดให้เกิดความชำนาญ ใช้วิชาการ บริการงานสังคม