เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
เติม STEM ให้เต็ม STEAM
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยให้นักเรียน
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2 สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 21 Century Student Skills ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills ทักษะการคิด Thinking Skills ทักษะการแก้ปัญหา Problem Solving Skills ทักษะการใช้ชีวิต Life Skills ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills ทักษะด้านการสื่อสาร Communication Skills

การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน การประเมินคุณภาพภายนอก ตบช.4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 1.พัฒนาคนไทยยุคใหม่ ตบช.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2.พัฒนาครูยุคใหม่ การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน การประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิรูป การศึกษา ตบช.6.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู 3.พัฒนาการบริหารจัดการใหม่ ตบช.8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน 4.พัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ตบช.12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนา สู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา 1.ตั้งคำถาม 2.วางแผนเตรียมหาคำตอบ 3.ลงมือค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 4.สรุปและนำเสนอคำตอบ

พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 มาตรา 24 (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ใช้ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้ง สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้เรียนและผู้สอน อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการสอนและแหล่สงวิทยาการต่าง ๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม กับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา

การสร้างวัฒนธรรมวิจัย ในโรงเรียน ความคิด ความเชื่อ ความคาดหวัง ค่านิยมของกลุ่มคนหมู่มาก วิถีชีวิตที่ปฏิบัติประจำ สิ่งที่ฝึกได้ สร้างได้ เช่น การกิน การเล่น การแต่งกาย การร้องเพลง ฯลฯ การสร้างวัฒนธรรมวิจัย ในโรงเรียน เป้าหมาย ปฏิรูปผู้เรียนให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยใช้กระบวนการวิจัยในวิถีชีวิต อย่างต่อเนื่องให้เป็นนิสัย วิธีการ ปฏิรูปผู้สอน โดยการกระตุ้น ส่งเสริมและจัดการเรียนรู้ด้วยกกระบวนการวิจัย เริ่มจากเทคนิค : QPAR 4 ขั้นตอน Question Planning Action & Observation Reflections ปฏิรูปโรงเรียน : สังคมแห่งการวิจัย โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ด้วยการวิจัย วัฒนธรรมวิจัย การที่นักเรียนมีความเชื่อ เห็นคุณค่า ของการวิจัยและเรียนรู้โดยใช้การวิจัยอย่างมีความสุข และต่อเนื่องจนเป็นนิสัย

การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม : HOW TO? เปลี่ยนกรอบความคิด (Paradigm Shift) : มีความคิด ความเชื่อ ค่านิยม แนวปฏิบัติที่ชัดเจน 2. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : องค์กรเสริมแรง ( Reinforcement) ผลักดัน ร่วมนำ ร่วมทำ ช่วยทำ หนุนนำ ตามติด ทำต่อเนื่องเพื่อให้เกิดเป็นนิสัย : การเติมเต็ม สร้างความเข้มแข็ง พี่เลี้ยง/ทำต่อเนื่อง/เวทีนำเสนอในงานต่างๆ /รณรงค์ /กิจกรรมเสริม ต้องถ่ายโยงกันทั่วทั้งองค์กร : เปลี่ยนแปลงจากจุดเล็กขยายถ่ายโยงไปเรื่อยๆ ภาพใหญ่ทั้งองค์กร/ทำทั้งโรงเรียน 5. ปรับเปลี่ยนเป็นวัฒนธรรมองค์กร : ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง เชื่อมั่น ศรัทธา และสื่อสาร เผยแพร่

บันได 5 ขั้นสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล การตั้งคำถามและสมมุติฐาน Hypothesis Formulation การสืบค้น แสวงหาความรู้Searching for Information สรุปองค์ความรู้ Knowledge formation การสื่อสารและนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ Effective Communication จิตสาธารณะและการบริการ Public Service

โครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัย (ปีงบประมาณ 2554-2556) การวิจัย : กระบวนการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ น่าเชื่อถือ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ตั้งคำถาม : Question (สังเกต สงสัย อยากรู้) เตรียมการ : Plan (คิดค้น หาวิธีตอบคำถาม) ดำเนินการค้นหาและตรวจสอบคำตอบ : Action, Observation and Reflection สรุปและนำเสนอผลการค้นหา : Conclusion and ….Presentation

การดำเนินงานโครงการ สร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียนปี 54-56 จุดประกาย ท้าทายความคิด ร่วมจิตวิจัย ก้าวไกลด้วยคาราวาน ขยายฐานเครือข่าย สืบสายวัฒนธรรมการวิจัย

การสร้างวัฒนธรรมวิจัยปีที่ 2 โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย สร้างความเข้มแข็งในการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการวิจัย ตรวจสอบ ทบทวนผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย สร้างความเข้มแข็งในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมการวิจัย

ตรวจสอบ ทบทวนการผลดำเนินงานกับเป้าหมาย เป้าหมายปลายทางผลที่เกิดกับผู้เรียนในปีที่ 1 2. วิเคราะห์ ทบทวนกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่นำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมวิจัย 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ วิธีสอน/กิจกรรมที่เอื้อ สื่อที่เสริมทักษะ การวัดผลที่สอดคล้อง 2.2 บรรยากาศในเชิงบวก 2.3 จุดอ่อน จุดแข็งและทักษะที่เป็นองค์รวม 3. วิเคราะห์ระบบ เทคนิคที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย 3.1 ทักษะองค์รวมรายคน 3.2 ระบบเทคโนโลยี

สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัย สร้างจุดเริ่มต้นของความร่วมมือจากการมีส่วนร่วม เชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญจาก ศึกษานิเทศก์ ทีมพี่เลี้ยงระดับภาค สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัย องค์กร ชุมชนท้องถิ่น ระบบ Network : อินเทอรเน็ต เว็บไซต์

ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย (การบริหารจัดการ) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน สร้างค่านิยมร่วม ความเชื่อ สร้างความตระหนัก เห็นความสำคัญ จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คาราวานใน/นอกโรงเรียน สนับสนุนให้ขับเคลื่อนทั้ง ร.ร.: สร้างพลังให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ให้อำนาจการตัดสินใจ/ความรับผิดชอบแก่ครู : ปรับเวลาเรียน วิธีการ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สร้างวัฒนธรรมให้ยอมรับการริเริ่ม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ให้ทุกคนทดลองทำจนประสบความสำเร็จ จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการสร้างวัฒนธรรมวิจัย นิเทศ ติดตามภายใน Coaching ให้คำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง ประเมิน ตรวจสอบกับเป้าหมาย ตัวชีวัด

ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย (การเรียนการสอน) ศึกษานิเทศก์ / ทีมภาค/ สพฐ. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ Coaching อย่างต่อเนื่อง สนับสนุน/จัดเวทีให้ครู ร.ร. ริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่ทำให้นักเรียนมีวัฒนธรรมวิจัย ประเมินผลงานครู นักเรียน เทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัด สร้างเวทีแสดง/นำเสนอความสำเร็จของครู/นักเรียนในโครงการ นำระบบ ICT เข้ามาช่วยจัดกิจกรรมสร้างนักคิด นักวิพากษ์ นักสืบค้น และสร้างความเป็นเลิศ ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบ/กิจกรรมการเรียนการสอน ที่สอดคล้องและนำมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการวิจัย

ตื่นตัว ตามีประกาย เห็นช่องทางนำไปประยุกต์ใช้ To do 6 Steps 1. จุดประกาย ตื่นตัว ตามีประกาย เห็นช่องทางนำไปประยุกต์ใช้

2. ท้าทายให้คิด ท้าทายให้ลองทำ สพฐ. เปิดจองนวัตกรรมให้ผู้สนใจนำไปใช้ แจก CD, Best Practices, เอกสาร

3. นำร่องทดลอง ปี 1 ครูกลุ่มเป้าหมาย วางแผน และทดลอง โดยเริ่มฝึกทำแผนจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยและทดลองสอน ปี 2 ตรวจสอบ ทดลองปรับรูปแบบ กิจกรรม วิธีการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการวิจัยและขยายเครือข่ายทดลองนำร่อง

เปิดสมอง ตริตรองมองกระบวนการเรียนรู้ มุ่งสู่วัฒนธรรมวิจัย 5. การวัด ประเมินผล ที่สอดคล้อง 1. จุดหมายปลายทางของผู้เรียนกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 4. สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่เสริมทักษะ 2. สาระ หน่วย/แผนการเรียนรู้ 3. บทเรียนที่ค้นพบ ออกแบบกิจกรรม /วิธีสอนที่เอื้อ

4.-5. ขยายฐานทั้งโรงเรียน แลกเปลี่ยนคาราวานวิจัย ให้เสนอผลงานความก้าวหน้า ปี 3 ครูกลุ่มเป้าหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้คาราวานวิจัยระหว่างโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน และนำเสนอในเวทีประกวดผลงานนักเรียน ครูในโครงการ

เด็กไทยยุคใหม่ก้าวสู่ความสำเร็จ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีวัฒนธรรมวิจัย มีทักษะกระบวนการคิด การตัดสินใจที่ถูกต้อง มีทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร สร้างความเข้าใจและ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีทักษะการใช้ ICT ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงและ ก้าวสู่อาเซียน นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต