การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 วิชาภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ เข้าแถว
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
 การสอนแบบอภิปราย.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
RECRUITMENT.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
รูปแบบการสอน.
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน
บทที่ 11.
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย ตามแนวคิดของเพียเจท์

เด็กอนุบาล (อนุบาลปีที่ 1-3) เด็กอนุบาล (อนุบาลปีที่ 1-3) แนวคิด - สติปัญญากำลังพัฒนา - ฝึกการคิด - อยากรู้ อยากเห็น - อยากเล่น อยากกิน - ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง - เอาแต่ใจตนเอง - ขาดความมีเหตุผล - ขาดความรู้สึกรับผิดชอบชั่วดี - ชอบแกล้งเพื่อน

เด็กระดับประถมศึกษา (ป.1 – ป.6) เด็กระดับประถมศึกษา (ป.1 – ป.6) แนวคิด - ยึดสังคมเป็นใหญ่ - แคร์เพื่อนๆ - นับจำนวนได้ - แยกแยะความแตกต่างได้ - คิดอย่างมีเหตุผล - คิดแก้ปัญหาในสิ่งที่ง่ายๆ - รู้ภาษา ศัพท์ต่างๆมากขึ้น - สร้างจินตนาการได้ - สร้างความคิดรวบยอดได้

เด็กระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) แนวคิด - กำลังเปลี่ยนระดับสติปัญญาจากขั้นความคิดเชิงรูปธรรม มาเป็นความคิดเชิงนามธรรม - คิดถึงเรื่ององค์ประกอบต่างๆเชิงนามธรรมได้ - ความน่าจะเป็นได้ - การสมมติเรื่องราว สร้างจินตนาการ และการคิดอย่างมีเหตุ ผลได้

เด็กระดับ ม.ปลาย (ม.4-ม.6) แนวคิด - สติปัญญาพัฒนาได้ดีแล้ว 90% - สติปัญญาพัฒนาได้ดีแล้ว 90% - เรียนรู้ทั้งรูปธรรมและนามธรรมได้ - เรียนรู้หลักปรัชญาและตรรกศาสตร์ได้ - เข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคม - ตัดสินใจ แก้ปัญหา การทดลอง ทดสอบและข้อพิสูจน์ ต่างๆได้

เด็กอนุบาล (อนุบาลปีที่ 1-3) เด็กอนุบาล (อนุบาลปีที่ 1-3) บทบาทของครู - เตรียมความพร้อมให้เด็ก - สร้างบรรยากาศที่ดีเป็นกันเอง - ตอบสนองความต้องการของ เด็กตามความสนใจ - เรียนปนเล่น - จัดบทเรียนให้สนุกสนาน - มีกิจกรรมสลับกับการเรียน - ฝึกการสร้างวินัยในตนเองและ วินัยของกลุ่ม - ให้เด็กได้แสดงออกตาม ความสามารถและความสนใจ - ฝึกรู้จักการยอมรับ - ฝึกการให้ การเสียสละ การเอื้อ อาทรต่อเพื่อนๆ - ฝึกมารยาท สร้างบทบาทผู้นำ

เด็กระดับประถมศึกษา (ป.1 – ป.6) เด็กระดับประถมศึกษา (ป.1 – ป.6) บทบาทของครู จัดให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออกถึงความสามารถ ความเด่น จัดฉายวีดิทัศน์ การ์ตูนประกอบ แบ่งกลุ่มการเรียน สนับสนุนให้เด็กมีกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน

เด็กระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) บทบาทของครู กระต้นให้เด็กเกิดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ อภิปราย ฝึกการแสดงความคิดเห็น ฝึกการเขียนรายงาน ให้เขียนเรียงความ ให้ศึกษาค้นคว้า ให้ทดลอง เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก การสร้างจินตนาการ การฝึกให้คิดหาเหตุผล ส่งเสริมความมีอิสรภาพของเด็ก ให้เด็กช่วยกันสร้างระเบียบ และกฎเกณฑ์ของกลุ่ม ของห้องเรียน

เด็กระดับ ม.ปลาย (ม.4-ม.6) บทบาทของครู ฝึกการทำงานเป็นทีม ฝึกทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ฝึกการอภิปราย การแสดงความคิดเห็น ฝึกการค้นคว้าให้เกิดแรงจูงใจใฝ่รู้ ฝึกให้มีแรงจูงใฝ่สัมพันธ์ ฝึกให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ฝึกการทำงานเป็นทีม ฝึกการสร้างภาวะผู้นำ กระตุ้นให้เกิดการแข่งขัน