นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ประวัตินักคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สาระที่ 4 พีชคณิต.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ความเท่ากันทุกประการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
Wang991.wordpress.com Tregonmetry Click when ready 
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
Tangram.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
นักคณิตศาสตร์ในอดีต.
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
เศษส่วน.
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
พื้นที่และปริมาตร พีระมิด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาตรพีระมิด ปริมาตรพีระมิด = 1/3 เท่าของปริมาตรปริซีม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม สื่อการเรียนการสอน เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส โดย นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม

ประวัติของพีทาโกรัส

พีทาโกรัสเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก เกิดที่เกาะซามอส (Samos) แห่งทะเลเอเจียน (Aegean) ใกล้กับเอเชียไมเนอร์ ท่านเป็นผู้มีประสบการณ์และได้รับความรู้จากการเดินทางไปอียิปต์และบาบิโลเนีย

ในขณะที่ศึกษาในประเทศอียิปต์ พีทาโกรัสพบว่าชาวอียิปต์ใช้เชือกที่มี 13 ปม ล้อมรอบไม้ 3 อัน ซึ่งปักอยู่บนพื้นที่นาเพื่อเป็นเส้นกั้นระหว่างที่นา รูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการใช้เชือกล้อมรอบไม้ 3 อัน นั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว

พีทาโกรัสได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งตัวเลข" พีทาโกรัสไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อคณิตศาสตร์ เขายังได้สร้างสรรค์ความคิดหลายอย่างให้กับปรัชญา และศาสนา ในปลายศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล

รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ให้ a แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุม A b แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุม B c แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุม C

การพิสูจน์ทฤษฏีพีทาโกรัส

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส กล่าวไว้ว่า "ผลรวมของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉากทั้งสอง จะเท่ากับ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก" 

ของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ความสัมพันธ์ ของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก c2 = a2 + b2

จากความสัมพันธ์ของด้านของรูปสามเหลี่ยม มุมฉากเราสามารถใช้หาด้านที่เหลือของด้านของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้จากความสัมพันธ์ดังกล่าว ตัวอย่าง จงหาความยาวของด้านที่เหลือ วิธีทำ จากความสัมพันธ์ c2 = a2 + b2 แทนค่า 102 = a2 + 82 a2 = 102 - 82 a2 = 100 - 64 a2 = 36 a = 6 8 10

ตัวอย่าง จงหาความยาวของด้านที่เหลือ วิธีทำ จากความสัมพันธ์ c2 = a2 + b2 แทนค่า x2 = 42 + 32 x2 = 16 + 9 x2 = 25 x = 5

ตัวอย่าง จงหาความยาวของด้านที่เหลือ วิธีทำ จากความสัมพันธ์ c2 = a2 + b2 แทนค่า 132 = 122 + b2 a2 = 132 - 122 a2 = 169 - 144 a2 = 25 a = 5

การเขียนความสัมพันธ์ของด้าน ของรูปสามเหลี่ยมตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส เช่น จากความสัมพันธ์ c2 = a2 + b2 แทนค่า 132 = 122 + 52 จากความสัมพันธ์ c2 = a2 + b2 แทนค่า 252 = 242 + 72

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส กล่าวคือ “ถ้า ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม มีด้านยาว a,b,c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า รูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และด้านที่ยาว c หน่วยเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก” (ด้านตรงข้ามมุมฉากจะเป็นด้านที่ยาวที่สุด)

เทคนิค จากบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส เราสามารถนำมาพิสูจน์ว่ารูปสามเหลี่ยมที่กำหนดด้านให้ทั้งสามด้านเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ โดยนำด้านที่ยาวที่สุดยกกำลังสองถ้าเท่ากับผลบวกของกำลังสองของสองด้านที่เหลือแสดงว่า สามเหลี่ยมนั้นเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากแต่ถ้าไม่เท่ากันแสดงว่าไม่เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก

ตัวอย่าง สามเหลี่ยมที่กำหนดให้เป็นสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ วิธีทำ ด้านที่ยาวที่สุดคือ 7.5 7.52 = 7.5 × 7.5 = 56.25 7.22 + 2.12 = 51.84 + 4.41 = 56.25 จะได้ว่า 7.52 = 7.22 + 2.12 นั่นคือ สามเหลี่ยมนี้เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก

ตัวอย่าง A 24 B 18 D 32 C ให้นักเรียนแสดงว่าสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ ถ้ากำหนดด้านต่าง ๆ ดังรูป วิธีทำ ต้องหาความยาวของด้านทั้งสามด้านของรูปสามเหลี่ยม หาด้าน AB จาก AB2 = 242 + 182 AB2 = 576 + 324 AB2 = 900 AB = 30

วิธีทำ หาด้าน AC จาก AC2 = 242 + 322. AC2 = 576 + 1,024. AC2. = 1,600 วิธีทำ หาด้าน AC จาก AC2 = 242 + 322 AC2 = 576 + 1,024 AC2 = 1,600 AC = 40 นำความยาวของด้านที่ยาวที่สุดยกกำลังสอง BC2 = 502 BC2 = 2500 และ AB2 + AC2 = 302 + 402 = 900 + 1600 = 2500 แสดงว่า BC2 = AB2 + AC2 นั่นคือ สามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส การนำทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช้ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ต้องวาดรูปออกมาก่อน เทคนิค บันไดยาว 17 ฟุต ยันฝาให้เชิงบันไดห่างจากฝา 8 ฟุต จงหาว่าจากพื้นดินถึงฝาได้กี่ฟุต วิธีทำ AC เป็นความยาวของบันได BC เป็นระยะห่างจากเชิงบันไดถึงฝา จะหาความยาวของ AB

นั่นคือ AC2 = AB2 + BC2 172 = AB2 + 82 AB2 = 172 - 82 AB2 = 289 – 64 AB2 = 225 AB = 15 ดังนั้น จากพื้นดินถึงบันไดมีความสูง 15 ฟุต

ตัวอย่าง ต้องการตั้งเสาโทรทัศน์สูง 12 เมตร โดยใช้ลวด 4 เส้นรั้งหัวเสา แล้วตรึงกับหลัก 4 หลัก ซึ่งปักห่างจากโคนเสา 5 เมตร ดังรูปต้องใช้ลวดยาวอย่างน้อยกี่เมตรในการตั้งเสานี้ วิธีทำ จากรูปให้ด้านที่เหลือยาว x เมตร จะได้ว่า x2 = 122 + 52 x2 = 144 + 25 x2 = 169 x = 13 จะได้ว่า ลวด 1 เส้น