ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
บทที่ 3 ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม
Distributed Administration
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Intermediate Representation (รูปแบบการแทนในระยะกลาง)
Graphic Programming Language for PIC MCU
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Software.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
SCC : Suthida Chaichomchuen
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความเป็นมาระบบปฏิบัติการ Linux
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม. 1. นายอาดัม เจะอูมา. 2. นางสาวยาวารียะห์ แยนา. 3
โครงสร้าง ภาษาซี.
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c

1) วิวัฒนาการของภาษา C ภาษา C เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 โดยได้รับแนวคิดมาจาก ภาษาบี (B language) ที่ เคน ทอมสัน (Ken Thomson) เป็นผู้พัฒนา จุดมุ่งหมายของภาษา C ก็เพื่อใช้บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX Operating System) แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเดิมในปี ค.ศ. 1970 ภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาระดับต่ำที่ใช้ในการติดต่อการทำงานกับระบบ ฮาร์ดแวร์ด้วยความเร็ว แต่ข้อเสียของภาษาแอสเซมบลีก็คือ มีความ ยุ่งยากในการใช้และมีความแตกต่างกันไปเฉพาะแต่ละเครื่อง เดนนิส ริตซี (Dennis Richie) จึงได้ทำการพัฒนาภาษา C ขึ้นมา โดยรวบรวมจุดเด่นของ ภาษาบี ภาษา ลิสต์ (List Processing) ภาษาปาสคาล (PASCAL language) และ ภาษา CPL ทำให้ภาษา C เป็นภาษาโครงสร้างที่มี ประสิทธิภาพในด้านการประยุกต์ใช้อย่างหลากหลาย

2. คุณสมบัติเด่นของภาษา C เนื่องจากภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หรือตัวเครื่อง แต่สามารถกระทำ โดยตรงกับตัวเครื่องได้ โดยมีรูปแบบของภาษาเหมือนกับภาษาระดับสูง ทั่วไป จึงจัดภาษา C ไว้เป็นภาษาระดับกลาง (Middle – Level Language) รูปแบบของ ภาษา C อาศัยหลักการโปรแกรมโมดูล (Module) ซึ่งมีรูปแบบ ของไวยากรณ์ภาษา (Syntax) ที่แน่นอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงาน ต่าง ๆ ได้ง่าย

3. โครงสร้างของภาษา C ภาษา C เป็นภาษาโครงสร้างที่มีรูปแบบไวยากรณ์แน่นอน มีคำสั่งให้ เลือกใช้งานตามลักษณะงานต่าง ๆ มากมาย ถ้าหากพิจารณาโครงสร้างของ ภาษา C จะพิจารณาโปรแกรมเป็นส่วนย่อยหลายส่วนมาประกอบกันเข้า เป็นโปรแกรมโดยเรียกส่วนย่อย ๆ นั้นว่าฟังก์ชัน ดังนั้น จึงประกอบด้วย ฟังก์ชันหลาย ๆ ฟังก์ชันส่วนหนึ่งจะเป็นฟังก์ชันที่กำหนดตามไวยากรณ์ และ อีกส่วนหนึ่งเป็นฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรมสร้างขึ้น ฟังก์ชันที่จะเรียกให้ ทำงานจะต้องมีการเรียกจาก Library ของ C compiler ในรูปของแฟ้มข้อมูล ภายนอกก่อน