จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
Advertisements

เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ด้านการให้คำปรึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การสื่อสารเพื่อการบริการ
องค์ประกอบของการสัมมนา
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
กรณีตัวอย่าง: การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
Communities of Practice (CoP)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
Participation : Road to Success
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การใช้ KM ขับเคลื่อนในการทำงานที่น่าน
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
FC 001 หลักการพัฒนาชุมชน (Principle of Community Development) ระดับ 1.
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP มัลลิฑา พูนสวัสดิ์ คณะทำงาน KM

ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราโชวาท ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ ....การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญขึ้นนั้น จะต้องสร้างจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น ถ้าพื้นฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว...... ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอีกนั้น ยากนักที่จะทำได้........”

ความรู้สามารถหาได้ทุกหนทุกแห่ง....ทุกพื้นที่....ทุกเวลา

เปิดใจ... เปิดกว้าง... พร้อมรับรู้....

ปิดกั้นตนเอง....

กบในกะลา....

ถ้าเราต้องการพัฒนาคนในถ้ำ. ต้องพาคนในถ้ำออกนอกถ้ำ ถ้าเราต้องการพัฒนา ถ้าเราต้องการพัฒนาคนในถ้ำ.... ต้องพาคนในถ้ำออกนอกถ้ำ ถ้าเราต้องการพัฒนา...ถ้ำ..... ต้องพาคนนอกถ้ำ...เข้ามาในถ้ำ

KM พูดในสิ่งที่ทำ โดยเน้นพูดถึงความสำเร็จ เน้นการปฏิบัติจริง ใช้กิจกรรมกลุ่ม/กระบวนกลุ่ม บรรยากาศเป็นมิตร มีอิสระ เท่าเทียม ปรารถนาดี ยอมรับ ให้เกียรติ ฝึกรับฟังคนอื่น ชื่นชม/ให้กำลังใจ ปล่อยตัวตามสบาย ทำใจให้กว้าง

ชุมชนปฏิบัติ (Community of Practice=CoP) กลุ่มคนมารวมกันเป็นชุมชนมีแรงปรารถนา (Passion) มีความสนใจ/รู้สึกเป็นเจ้าของความรู้ มองเห็นคุณค่าในการปฎิสัมพันธ์ระหว่างกัน มีความรู้ที่ลึกซึ้ง แลกเปลี่ยนข้อมูล/คำแนะนำ

องค์ประกอบของ CoP ผู้สนับสนุนกลุ่ม มีผู้ดำเนินการหลัก มีผู้บันทึก/สรุปประเด็น สมาชิก

แนวทางพัฒนา CoP (พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ) ระยะที่ 1 I Dentity การเตรียมความพร้อมใหม่ โดยพัฒนา 3 ด้าน คือ 1. พัฒนาองค์ประกอบพื้นฐาน CoP - โดเมน - ชุมชน - แนวปฏิบัติ

2. การสื่อสารและการฝึกอบรม สื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์ผ่านหลายทาง สื่อสารผลงาน การฝึกอบรมแบ่งเป็นระดับ  ต่างกลุ่มต่างแสดงบทบาทใน CoP ที่ไม่เหมือนกัน

3. การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดเมนแบ่งให้ชัดเจน เช่น CoP, story, social, Net works. ชุมชน – สร้างเวบไซต์ แนวปฏิบัติ- จัดหมวดหมู่ความรู้อย่างชัดเจน

ระยะที่ 2 ระยะที่สมาชิก CoP รวมตัวและฝึกความสัมพันธ์ แสดงศักยภาพสูงสุดของตัวเองออกมา สนิทสนมและศึกษาซึ่งกันและกัน

ระยะที่ 3 เป็นช่วงที่ชุมชนทำกิจกรรมสูงสุด และเป็นช่วงที่ยาวนานที่สุด

การสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทำ CoP 1. ประเด็น/ หัวข้อ 2. ปัญหา 3. ข้อสรุป 4. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (EK) : 5. ความรู้ที่ฝังในตัวคน (TK) : 6. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)

จุดเด่น 1. เป็นองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต/ โรงพยาบาลที่ส่งเสริมให้เป็นองค์แห่งการเรียนรู้ 2. มีผู้รับผิดชอบทั้งในระดับหัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาล/ ผู้นิเทศ/ หัวหน้าตึกและผู้ปฎิบัติงานที่เข้มแข็ง 3. มีการปฏิบัติงานเป็นงานประจำที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 4. ได้รับการประสานงานที่ดีกับผู้ที่เกี่ยว ข้อง ได้แก่ หัวหน้างาน/ หัวหน้าตึก แนวเสริม มีการประชุม/ ปรึกษาพัฒนาให้เป็นงานวิจัย/ เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง 2. มีการพูดคุยส่งเสริมการให้กำลังใจร่วมกันในทุกระดับ 3. มีการเพิ่มเติมองค์ความรู้ เช่น จัดประชุมเข้าร่วมปฏิบัติการ, ประชุมปรึกษาแก้ไขปัญหา เป็นต้น 4. สนับสนุนให้มีการพบปะสังสรรค์ในโอกาสต่างๆตามความเหมาะสม

ปัญหา/ อุปสรรค แนวทางการแก้ไข สมาชิก CoP มีงานที่ปฏิบัติเป็นงานหลัก ส่วนการร่วม CoP เป็นงานรอง 2. อ่านในสมาชิก CoP ค่อนข้างน้อยมีข้อจำกัด 3. การสื่อสารไม่ทั่วถึง 4. มีกิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจค่อนข้องน้อย แนวทางการแก้ไข สร้างความตระหนักให้เห็นความสำคัญของงานเท่าเทียมกัน 2. จัดให้มีการหมุนเวียนของสมาชิกและสมัครเพิ่มเติม 3. เพิ่มช่องทางการสื่อสารให้มากขึ้น เช่น บอร์ดประชุม 4. จัดกิจกรรมนอกเวลา, นอกราชการ

สวัสดีค่ะ