จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP มัลลิฑา พูนสวัสดิ์ คณะทำงาน KM
ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราโชวาท ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ ....การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญขึ้นนั้น จะต้องสร้างจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น ถ้าพื้นฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว...... ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอีกนั้น ยากนักที่จะทำได้........”
ความรู้สามารถหาได้ทุกหนทุกแห่ง....ทุกพื้นที่....ทุกเวลา
เปิดใจ... เปิดกว้าง... พร้อมรับรู้....
ปิดกั้นตนเอง....
กบในกะลา....
ถ้าเราต้องการพัฒนาคนในถ้ำ. ต้องพาคนในถ้ำออกนอกถ้ำ ถ้าเราต้องการพัฒนา ถ้าเราต้องการพัฒนาคนในถ้ำ.... ต้องพาคนในถ้ำออกนอกถ้ำ ถ้าเราต้องการพัฒนา...ถ้ำ..... ต้องพาคนนอกถ้ำ...เข้ามาในถ้ำ
KM พูดในสิ่งที่ทำ โดยเน้นพูดถึงความสำเร็จ เน้นการปฏิบัติจริง ใช้กิจกรรมกลุ่ม/กระบวนกลุ่ม บรรยากาศเป็นมิตร มีอิสระ เท่าเทียม ปรารถนาดี ยอมรับ ให้เกียรติ ฝึกรับฟังคนอื่น ชื่นชม/ให้กำลังใจ ปล่อยตัวตามสบาย ทำใจให้กว้าง
ชุมชนปฏิบัติ (Community of Practice=CoP) กลุ่มคนมารวมกันเป็นชุมชนมีแรงปรารถนา (Passion) มีความสนใจ/รู้สึกเป็นเจ้าของความรู้ มองเห็นคุณค่าในการปฎิสัมพันธ์ระหว่างกัน มีความรู้ที่ลึกซึ้ง แลกเปลี่ยนข้อมูล/คำแนะนำ
องค์ประกอบของ CoP ผู้สนับสนุนกลุ่ม มีผู้ดำเนินการหลัก มีผู้บันทึก/สรุปประเด็น สมาชิก
แนวทางพัฒนา CoP (พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ) ระยะที่ 1 I Dentity การเตรียมความพร้อมใหม่ โดยพัฒนา 3 ด้าน คือ 1. พัฒนาองค์ประกอบพื้นฐาน CoP - โดเมน - ชุมชน - แนวปฏิบัติ
2. การสื่อสารและการฝึกอบรม สื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์ผ่านหลายทาง สื่อสารผลงาน การฝึกอบรมแบ่งเป็นระดับ ต่างกลุ่มต่างแสดงบทบาทใน CoP ที่ไม่เหมือนกัน
3. การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดเมนแบ่งให้ชัดเจน เช่น CoP, story, social, Net works. ชุมชน – สร้างเวบไซต์ แนวปฏิบัติ- จัดหมวดหมู่ความรู้อย่างชัดเจน
ระยะที่ 2 ระยะที่สมาชิก CoP รวมตัวและฝึกความสัมพันธ์ แสดงศักยภาพสูงสุดของตัวเองออกมา สนิทสนมและศึกษาซึ่งกันและกัน
ระยะที่ 3 เป็นช่วงที่ชุมชนทำกิจกรรมสูงสุด และเป็นช่วงที่ยาวนานที่สุด
การสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทำ CoP 1. ประเด็น/ หัวข้อ 2. ปัญหา 3. ข้อสรุป 4. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (EK) : 5. ความรู้ที่ฝังในตัวคน (TK) : 6. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
จุดเด่น 1. เป็นองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต/ โรงพยาบาลที่ส่งเสริมให้เป็นองค์แห่งการเรียนรู้ 2. มีผู้รับผิดชอบทั้งในระดับหัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาล/ ผู้นิเทศ/ หัวหน้าตึกและผู้ปฎิบัติงานที่เข้มแข็ง 3. มีการปฏิบัติงานเป็นงานประจำที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 4. ได้รับการประสานงานที่ดีกับผู้ที่เกี่ยว ข้อง ได้แก่ หัวหน้างาน/ หัวหน้าตึก แนวเสริม มีการประชุม/ ปรึกษาพัฒนาให้เป็นงานวิจัย/ เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง 2. มีการพูดคุยส่งเสริมการให้กำลังใจร่วมกันในทุกระดับ 3. มีการเพิ่มเติมองค์ความรู้ เช่น จัดประชุมเข้าร่วมปฏิบัติการ, ประชุมปรึกษาแก้ไขปัญหา เป็นต้น 4. สนับสนุนให้มีการพบปะสังสรรค์ในโอกาสต่างๆตามความเหมาะสม
ปัญหา/ อุปสรรค แนวทางการแก้ไข สมาชิก CoP มีงานที่ปฏิบัติเป็นงานหลัก ส่วนการร่วม CoP เป็นงานรอง 2. อ่านในสมาชิก CoP ค่อนข้างน้อยมีข้อจำกัด 3. การสื่อสารไม่ทั่วถึง 4. มีกิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจค่อนข้องน้อย แนวทางการแก้ไข สร้างความตระหนักให้เห็นความสำคัญของงานเท่าเทียมกัน 2. จัดให้มีการหมุนเวียนของสมาชิกและสมัครเพิ่มเติม 3. เพิ่มช่องทางการสื่อสารให้มากขึ้น เช่น บอร์ดประชุม 4. จัดกิจกรรมนอกเวลา, นอกราชการ
สวัสดีค่ะ