WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
ความเท่ากันทุกประการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
Application of Graph Theory
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ

WAVE Mechanical Wave Electromagnetic Wave คลื่นเมื่อจำแนกตามความจำเป็นของการใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ Mechanical Wave WAVE Electromagnetic Wave

คลื่น แบ่งตามลักษณะการแผ่ได้ 2 ชนิด 2. คลื่นตามยาว Longitudinal Wave 1. คลื่นตามขวาง Transverse Wave

คลื่นเมื่อจำแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกำเนิด 1. คลื่นดล Pulse Wave 2. คลื่นต่อเนื่อง Continuous Wave

การเกิดคลื่นบนเส้นเชือก

ส่วนประกอบของคลื่น

เฟส (Phase) คือวิธีการในการบอกตำแหน่งของการเคลื่อนที่แบบคลื่น

Wave Front

Wave Front

สมบัติของคลื่น มี 4 ประการ 1. การสะท้อน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction) 3. การแทรกสอด (Interferance) 4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) สมบัติร่วมของคลื่นและอนุภาค สมบัติเฉพาะของคลื่น

1. การสะท้อน (Reflection) กฏของการสะท้อน 1.มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน 2.ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะท้อนและเส้นแนวฉากอยู่ในระนาบเดียวกัน

1. การสะท้อน (Reflection) กรณีปลายตรึงแน่น จะสะท้อนออกมาเฟสเปลี่ยน 180 องศา กรณีปลายอิสระ จะสะท้อนออกมาโดยเฟสคงเดิม

ลองหาค่ามุมสุดท้ายดูว่ามีค่ากี่องศาครับ?

2. การหักเห (Refraction)

2. การหักเห (Refraction)

2. การหักเห (Refraction)

Ex. คลื่นน้ำเคลื่อนที่จากน้ำตื้นเข้าสู่น้ำลึก โดยทิศทางของมุมของทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงจาก 37 องศาไปเป็น 53 องศา ให้ความยาวคลื่นในตื้นเท่ากับ 5 cm จงหาอัตราเร็วคลื่นในน้ำลึก ถ้าความถี่ของคลื่นมีค่า 20 Hz

การสะท้อนกลับหมด (Total Reflection) คือไม่เกิดการหักเหเลย แต่เกิดการสะท้อนกลับหมด ในการคิด ให้หาค่ามุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักมีค่า 90 องศา โดยมุมตกกระทบนี้ เราจะเรียก ว่า มุมวิกฤต (Critical Angle) ถ้าหากเรากางมุมมากกว่ามุมวิกฤต ก็จะเกิดการสะท้อนกลับหมด เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จาก ตัวกลางที่มีอัตราเร็วคลื่นน้อย ไปสู่ ตัวกลางที่มีอัตราเร็วคลื่นมาก

3. การแทรกสอด (Interferance)

3. การแทรกสอด (Interferance)

3. การแทรกสอด (Interferance)

3. การแทรกสอด (Interferance)

3. การแทรกสอด (Interferance)

Ex. แหล่งกำเนิดอาพันธ์ 2 แหล่งวางห่างกัน 8 cm ให้กำเนิดคลื่นที่มีเฟสตรงกัน ถ้าจุด A เป็นจุดๆหนุ่งที่เกิดการเสริมกันของคลื่น โดยจุด A อยู่ห่างจากแหล่งกำเนิดทั้งสองเป็นระยะ 10 และ 14 cm ตามลำดับถ้า ความยาวคลื่นน้ำมีค่า 2 cm จงหา ก. A อยู่บนแถบสว่างลำดับที่เท่าไร ข. A กางออกจากเส้นแนวกลางเป็นมุมกี่องศา

Standing wave

Standing wave

Ex. ดีดเส้นเชือกที่ปลายทั้งสองถูกตรึงแน่น ทำให้เกิด คลื่นนิ่ง จำนวน 6 Loops ถ้าเชือกยาว 120 cm จงหาความยาวคลื่นในเส้นเชือก

4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) 4.1 เมื่อเจอสิ่งกีดขวาง

4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) 4.2 เมื่อผ่านช่องเดี่ยว

4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) 4.3 เมื่อผ่านช่องเปิดคู่ คล้าย slit คู่

Summary เงื่อนไขการแทรกสอด และการเลี้ยวเบน 1. กรณี d < ; แนวไกลสุด n < 1 ดังนั้นไม่เกิดแนวบัพ 2. กรณี d = ; แนวไกลสุด n=1 แสดงว่าแนวบัพอันที่1 ทับสิ่งกีดขวางพอดี เราจึงมองไม่เห็นแนวบัพ 3. กรณี d > ; จะเกิด การแทรกสอดหลายแนว ทั้งสามพิจารณาจาก dsin = n เมื่อ = 90 องศา

Summary ใช้ในกรณี การแทรกสอด ใช้ในกรณี การเลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดคู่ เมื่อ เฟสตรงกัน ใช้ในกรณี การเลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดเดี่ยว เสริมกัน (ปฏิบัพ) 1. หักล้างกัน (บัพ) 2. ถ้าเฟสตรงข้ามกันให้สลับกันใช้สูตรที่1 กับ 2 **จำ เฟสตรงกัน A อยู่ตรงกลาง เฟสตรงข้ามกัน N อยู่ตรงกลาง

END