โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
Advertisements

Somwang Witayapanyanond 26 April 2013
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ดิน(Soil).
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
การทดสอบแป้ง ในผงซักฟอก
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
กรณีศึกษาเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
G Garbage.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 49/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 48/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกร่อย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑

น้ำเน่าคืออะไร น้ำเน่า คือ น้ำเสียที่ขาดออกซิเจนละลายในน้ำ ประกอบด้วย สารอินทรีย์ละลายน้ำ แบคทีเรีย ทั้งชนิดที่ใช้อากาศ (Aerobic) และชนิดที่ไม่ใช้อากาศ (Anaerobic) แร่ธาตุต่างๆ โมเลกุลต่างๆ ออกซิเจน ไนไตร ไนเตรท ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟต ซัลไฟต์ คาร์บอเนท ฯลฯ

มหาอุทกภัยครั้งนี้ เรามีน้ำเน่าแบบไหนบ้าง น้ำเสียหลัก มี 2 ประเภท คือ อนินทรีย์ น้ำเสีย สารประกอบโลหะหนักต่างๆ น้ำเสียอินทรีย์ จุลชีพสามารถย่อยสะลายหรือทำให้เน่าเสียได้ (เช่น อาหาร พืช หญ้า) และส่วนมากจะมีเชื้อโรค+พยาธิแถม

การจัดการน้ำท่วมขัง ครัวเรือน ควรปฏิบัติดังนี้ ในกรณีที่มีน้ำท่วมขัง ควรลดปัญหาน้ำเน่าเสียเบื้องต้นโดยการ เก็บขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สารอินทรีย์เน่าเสียออกจากน้ำที่ขังอยู่

การแก้ปัญหาน้ำเน่าขังในบริเวณบ้าน การใช้ปูนขาว โดยการละลายปูนขาว 150-300 กรัม (ประมาณ 1-2 แก้วน้ำดื่ม)ต่อน้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตร (หรือ 1000 ลิตร) ขึ้นอยู่กับความสกปรกของน้ำเน่า จะช่วยทำให้น้ำใสขึ้นและลดกลิ่นเหม็น แต่สารอินทรีย์ในน้ำซึ่งเป็นเหตุให้น้ำสกปรกไม่ได้ลดลง การใช้ EM EM ทีมีเชื้อจุลินทรีย์คัดสายพันธุ์สำหรับลดกลิ่นเหม็นของน้ำเน่า ควรเป็นน้ำเน่าขังและมีแสงแดดช่วย (ในกรณีน้ำเน่าไหลจะใช้ไม่ได้ผล)

EM (Effective Microorganisms) 1. จุลินทรีย์ที่สร้างกรดแลคติก 2. ยีสต์ 3. แบคทีเรียสีม่วง

ประเภทของ EM แบบผง แบบน้ำ EM Ball

EM แบบผง จีพีโอ เมกะคลีน พลัส (GPO MEGAKLEAN PLUS) จีพีโอ เมกะคลีน พลัส เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่กำจัดกลิ่นเหม็นและช่วยย่อยสลายของเสียประเภทสารอินทรีย์ นอกจากนี้ยังเป็นตัวเร่งและกระตุ้นปฏิกิริยาการย่อยสลายให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสมบูรณ์แบบ อีกทั้งยังมีความปลอดภัย ต่อคน สัตว์ พืช สิ่งแวดล้อม และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากคณะกรรมการอาหารและยา

ขนาดของผลิตภัณฑ์จีพีโอ เมกะคลีน พลัส ขนาด 10 กรัม ขนาด 1 กิโลกรัม ขนาด 10 กิโลกรัม

วิธีการใช้งาน จีพีโอ เมกะคลีน พลัส นำจีพีโอ เมกะคลีน พลัส มาแช่น้ำทิ้งไว้อย่างน้อย 4 ชั่วโมง หรือข้ามคืนก่อนการใช้งาน แต่ไม่ควรเกิน 48 ชั่วโมง โดยมีวิธีการและอัตราการใช้ดังนี้

4.1 แหล่งน้ำเน่าเสีย ปริมาณการใช้ : คำนวณตามปริมาณน้ำในคลอง (กว้างxยาวxสูง) อัตราการใช้ : แก้ไขปัญหารุนแรง ใช้ 3 ppm (3 กรัม/น้ำเสีย 1,000 ลิตร) แก้ไขปัญหาปานกลาง ใช้ 1 ppm (1 กรัม/น้ำเสีย 1,000 ลิตร) ป้องกันปัญหาหรือรักษาสภาพ ใช้ 0.5 ppm (0.5 กรัม/น้ำเสีย 1,000 ลิตร) วิธีการใช้งาน : แช่จีพีโอ เมกะคลีน พลัส ตามจำนวนที่คำนวณได้ในน้ำ และแช่ทิ้งไว้อย่างน้อย 4 ชั่วโมง หรือข้ามคืน หลังจากนั้น ให้นำส่วนผสมที่ได้ทั้งหมดไปสาดให้ทั่วคลอง โดยอาจจะแบ่งเป็นจุด ห่างกันประมาณจุดละ 250 เมตร

4.2 ห้องน้ำ ห้องส้วม ท่อน้ำและท่อระบายน้ำ ปริมาณการใช้ : นำจีพีโอ เมกะคลีน พลัส มาแช่น้ำทิ้งไว้อย่างน้อย 4 ชั่วโมง หรือข้ามคืนก่อนการใช้งาน แต่ไม่ควรเกิน 48 ชั่วโมง โดยมีวิธีการและอัตราการใช้ดังนี้ ห้องน้ำ ห้องส้วม ใช้ครั้งแรกปริมาณ 5 กรัมต่อจุดที่เกิดปัญหา หลังจากนั้นใช้อาทิตย์ละ 1 กรัม โดยในโถส้วมสามารถใส่จีพีโอ เมกะคลีน พลัส ลงไปแล้วราดน้ำหรือกดชักโครกได้เลย ท่อน้ำและท่อระบายน้ำ แช่จีพีโอ เมกะคลีน พลัส ในน้ำ 1 แก้ว จากนั้นนำเฉพาะส่วนที่ใสไปเทราดในท่อ ส่วนตะกอนที่เหลือให้เทในชักโครก หมายเหตุ : ถ้าปริมาณของเสียถูกปล่อยออกมาทุกวัน ควรทำการบำบัดอย่างต่อเนื่อง

EM แบบน้ำ

EM Ball

การจัดการน้ำเสียของบ้านเรือนในพื้นที่น้ำท่วม กรณีน้ำที่ท่วมเน่าเหม็น มีวิธีดำเนินการดังนี้ ใช้เมกกะคลีนพลัส (EM ผง) 1 ช้อนของผลิตภัณฑ์ (1 กรัม) ต่อน้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตร (หรือ 1000 ลิตร)เติมซ้ำทุกสัปดาห์ ใช้อีเอ็มบอลล์โยนลงในแหล่งน้ำเสีย 1 ก้อน/พื้นน้ำ 4 ตารางเมตร ลึก 2.5 เมตร ใช้น้ำยา EM หรือ น้ำหมักชีวภาพ 1 ลิตร ต่อน้ำเสียที่ท่วมขัง 1 ลูกบาศก์เมตร (หรือท่วมสูง 1 เมตร ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ) ทุกๆสัปดาห์ (หากมีกลิ่นเหม็นมาก ให้ใช้ทุกๆ 3 วัน)

ข้อควรคำนึงถึงการใช้ EM ปริมาณการใช้ต่อพื้นที่ที่เหมาะสม ความลึกของน้ำ มีการติดตามผล โดยการวัดคุณภาพน้ำ เช่น DO BOD หลังการบำบัด

สรุปการจัดการน้ำเน่าและน้ำท่วมขัง เติม O2 ระบายน้ำ EM เก็บขยะ

ขอบคุณคะ