เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
รหัส หลักการตลาด.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
Lecture 8.
Product and Price ครั้งที่ 8.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนกำลังการผลิต
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ) รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

การตัดสินใจจ้างงานในระยะยาว ในระยะยาว ปริมาณของสินค้าทุน และ แรงงาน เปลี่ยนแปลงได้ หน่วยผลิตจะแสวงหากำไรสูงสุดโดย เลือกส่วนผสมระหว่างแรงงาน และ ทุน: จะจ้างคนงานกี่คน จะลงทุนในโรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ เป็นจำนวนเท่าไหร่

Isoquants – ฟังชั่นการผลิต ส่วนผสมต่างๆ ของแรงงาน และ ทุน ที่เป็นไปได้ ในการที่จะ ได้มาซึ่งผลผลิตระดับหนึ่ง Isocosts – ต้นทุนการผลิต ส่วนผสมของแรงงานและทุนที่หน่วยผลิตจะซื้อได้ ด้วย ค่าใช้จ่ายระดับหนึ่ง

เส้นอุปสงค์แรงงาน ในระยะยาว หน่วยผลิต ผลิตในระดับที่จะให้กำไรสูงสุด qo คือ ระดับที่ ผลผลิต เท่ากับ ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (marginal cost) ผลิตให้ต้นทุนต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สัดส่วนของ marginal products = สัดส่วนของ input prices ในระยะยาว เมื่อค่าจ้างเปลี่ยน เกิดอะไรขึ้นต่ออุปสงค์ของหน่วยผลิต ต่อแรงงาน? หน่วยผลิตถูกจำกัดโดย เทคโนโลยี ราคาของผลผลิต และ ราคาของปัจจัยการผลิต

เส้นอุปสงค์แรงงาน ในระยะยาว จากทฤษฎีการแสวงหากำไรสูงสุด หลังจากค่าจ้างเปลี่ยน หน่วยผลิตจะพยายามทำให้ค่าใช้จ่ายอยู่ใน ระดับเดิมหรือไม่? ไม่จำเป็นเสมอไป ถ้าค่าจ้างลดลง จะกระตุ้นให้หน่วยผลิตขยายปริมาณการผลิตออกไป  ต้นทุนไม่จำเป็นต้องอยู่ในระดับเดิม เมื่อค่าจ้างลดลง หน่วยผลิตจะจ้าง แรงงาน เพิ่มขึ้นเสมอ แต่สำหรับ ทุน นั้น อาจจะใช้มากขึ้น หรือไม่ก็ได้

เส้นอุปสงค์แรงงานในระยะยาว จะลาดลงเสมอ ค่าจ้างลดลง  scale effect และ substitution effect Scale effect กระตุ้นให้หน่วยผลิตขยายออก การจ้างงานจะเพิ่มขึ้น Substitution effect  หน่วยผลิตใช้วิธีการผลิตที่ใช้แรงงาน เข้มข้น ในระยะยาว หน่วยผลิตจะใช้ประโยชน์จากการที่ค่าจ้างเปลี่ยน และ ปรับ ทั้งระดับการจ้างงาน และ การใช้ปัจจัยทุน เส้นอุปสงค์แรงงานในระยะยาวจะมีความยืดหยุ่นมากกว่าเส้นอุปสงค์ แรงงานในระยะสั้น

กฎของมาร์แชลเกี่ยวกับอุปสงค์ต่อเนื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ Elasticity of Substitution เส้น isoquant และขนาดของ substitution effect Elasticity of Demand for Product เมื่อค่าจ้างเพิ่ม  ราคาผลผลิตจะสูงขึ้น  ลดอุปสงค์ของ ผู้บริโภค สัดส่วนของต้นทุนแรงงานในต้นทุนทั้งหมด จะเพิ่มขึ้น การผลิตแบบที่ใช้แรงงานเข้มข้นจะถูกกระทบมาก Elasticity of supply for other inputs เช่น ทุน ราคาสินค้าทุนเพิ่มมากแค่ไหน เมื่อมีการซื้อสินค้าทุนมากขึ้น

ดุลยภาพในตลาดแรงงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงงานและหน่วยผลิต ระดับค่าจ้างและการจ้างงานที่สร้างความสมดุลระหว่าง จำนวนชั่วโมง ที่แรงงานเต็มใจจะทำงาน จำนวนแรงงาน – ชั่วโมงที่หน่วยผลิตต้องการจะจ้าง ณ ค่าจ้างสูงกว่าดุลยภาพ จะมีแรงงานส่วนเกิน แรงงานจะแข่งขัน แย่งงานกัน  กดดันให้ค่าจ้างลดลง ณ ค่าจ้างต่ำกว่าดุลยภาพ แรงงานขาดแคลน นายจ้างจะแข่งขัน แย่งคนงานที่มีอยู่น้อย  กดดันให้ค่าจ้างเพิ่มขึ้น