การจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

TGO/CFP-P บริษัท การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์……………… ขอบเขตการศึกษา..B2B..or..B2C ชื่อที่ปรึกษา
บริษัท การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์………………
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
KMUTT ไฟฟ้า จาก แสงอาทิตย์ นาย ชาย ชีวะเกตุ.
Location Problem.
Future Energy Options นาย ชาย ชีวะเกตุ.
องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555.
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน
Double our business while reducing our environmental impacts and improving people’s health and livelihoods The Goal เราตั้งใจที่จะขยายธุรกิจโดยเติบโตเป็นสองเท่าขณะเดียวกันเราจะลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมทั้งช่วยยกระดับสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีและส่
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ภาวะโลกร้อนกับมาตรการทางการค้า อุปสรรคหรือโอกาสทางธุรกิจ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

หัวข้อการบรรยาย เหตุผลความจำเป็นในการจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก วิธีการที่โลกและไทยใช้ในการประมาณการจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกราย Sector ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ

350 Last Interglacial Carbon Dioxide (ppmv) 300 Last Ice Age Ice ages are not random. They are 'forced' (by earth’s orbital clock…. changes in the sunlight received). 250 200 [Adapted from Figure 6.3, ©IPCC 2007: WG1-AR4] 600 500 400 300 200 100 Thousands of Years Before Present Humans are ‘forcing’ the system in a new way. CO2 increases are mainly due to fossil fuel burning. CO2 has not been this high in more than half a million years.

เหตุผลความจำเป็นในการจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1,000 ปี 100 ปี เวลา ณ ปัจจุบัน CO2 Emission Magnitude of response การปล่อย CO2 สู่บรรยากาศ ความเข้มข้นของ CO2 ในอากาศ: หลายร้อยปี อุณหภูมิ: พันปี น้ำทะเลสูงเนื่องจากการการขยายตัวของน้ำ: หลายศตวรรษ น้ำทะเลสูงเนื่องจากการละลายของน้ำแข็ง: หลายพันปี แหล่งข้อมูล:IPCC Synthesis report(2001) 3 実際の予測の前に、濃度安定化に対する気候の長期応答の理解が必要。 図は、IPCC三次評価報告書Third Assessment Report(2001)の抜粋で、定性的な仮説。 図のように、CO2排出を100年後までにほとんどゼロに近く削減できれば、CO2の大気中濃度は安定化可能。 濃度が安定化しても、気温が一定(平衡)になるには数世紀かかり、熱膨張による海面上昇が一定(平衡) になるには数世紀から1000年かかる。さらに、グリーンランドの氷床(ice sheet)が融解すると、海面上昇が平衡になるには数千年が必要。これは、地球の気候システムの慣性(inertia)が大きいことが原因。 これまでは計算機の能力が低いことから、この仮説は実際には立証されていない。

Emission pathways that lead to stabilization Pay-off between costs and uncertainty: – 650 : 0.3% of GDP, 0-10% chance of meeting 2oC – 550 : 0.7% of GDP, 0-30% chance of meeting 2oC – 450 : 1.4% of GDP, 20-70% chance of meeting 2oC Den Elzen, Meinshausen and Van Vuuren.Multigas stabilisation pathways. Kram / van Vuuren, 2 degrees under uncertainty

ใครเป็นคนปล่อย Earth trend 2009 : WRI

Global Anthropogenic GHG Emissions IPCC AR4 By Sector By Gas

Historical emission Projection emission

ทำไมต้องจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกแห่งชาติ เป็นข้อตกลงในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Change; UNFCCC) ในปี 1992 ประเทศ Annex I มีพันธะกรณีร่วมกันในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญอิสระ จากรายงานบัญชีก๊าซเรือนกระจกแห่งชาติ ประเทศ Non-Annex I (รวมประเทศไทยด้วย) ทำโดยสมัครใจ รายงานต่อ UNFCCC ในรูปของ National communication (NC)

2. วิธีการจัดทำ Bottom-up  Top-down IPCC Methodology Life Cycle Assesmment Approach  Top-down Greenhouse gas measurements & atmospheric modeling

IPCC has developed Inventory Guidelines IPCC Methodology UNFCCC requested IPCC to provide methodology to estimate National GHG (NGI) Inventory to be reported with the same standard for both Annex I and Non-Annex I IPCC has developed Inventory Guidelines

1996 IPCC Revised Guidelines 2000 Good practice guidance on GHG inventory and Uncertainty management The Reporting Instructions (Volume 1) 2003 Good practice guidance on LULUCF The Workbook (Volume 2) The Reference Manual (Volume 3)

Agriculture is combined with LULUCF 2006 IPCC Guidelines 2006 IPCC Guidelines 5volumes Vol.1 GGR Vol.2 Energy Vol.3 IPPU Vol.4 AFOLU Vol.5 Waste Agriculture is combined with LULUCF

UNFCCC – National GHG Inventory

วิธีการคำนวณ Emission Activity Data (AD) Emission Factor (EF) ( CO2, CH4,N2O,PFC,HFC.SF6) Mass of fossil fuel= tonnes Energy used = kWh Area =hectare Volume = m3 wastewater kg GHG / unit of activity Emission Activity Data (AD) Emission Factor (EF) = x Tonnes CO2 equivalent of the estimated year CO2 =1 CH4=21 N2O=310 HFC= 140-11700 PFC= 9200 SFC= 23900

Conceptual framework of GHG estimation

National GHG Inventory Calculation Emission = Activity Data x Emission Factor Activity data 5 sectors Emission factors DEDE Energy IPCC default value EGAT PTT Industrial Process OTP National Research Relevant institution consultation EPPO Expert consultation Agriculture DIW Review literature DLD Land Use Change and Forestry OAC International driver RFD BMA Waste PCD

ศักยภาพการทำให้โลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก ศักยภาพในการทำให้โลกร้อน (เทียบเท่ากับคาร์บอนไดออกไซด์) (Global Warming Potential: GWP) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 1 มีเทน (CH4) 21 ไนตรัสออกไซด์ (N2O) 310 ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) 140 - 11,700 เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PCFs) 6,500 - 9,200 ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) 23,900 18 ที่มา: Climate Change 1995, IPCC Second Assessment Report สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 18

Level of Methodologies Tier 1 Default emission factor (IPCC 1996 guidelines) AD = country data or international driver EF =IPCC default value Tier 2 Country-specific emission factor AD = country data EF= country specific Tier 3 Specific emission factor (fuel and technology used) Specific methodology used AD= country data disaggregate by types EF = country specific disaggregate by activity data types Specific model use

4. ภาคการเกษตร (Agriculture) Tier 1 Tier 1/2 Tier 2 A. กลุ่มการหมักในลำไส้ของสัตว์ที่มีการบริโภคพืชเป็นอาหาร (Enteric Fermentation) Tier 1 B. กลุ่มการจัดการมูลสัตว์ (Manure Management) (Tier 2 for N2O) Tier 1/2 C. กลุ่มนาข้าว (Rice Cultivation) Tier 2 D. กลุ่มดินที่ใช้ในการเกษตร (Agricultural Soils) E. กลุ่มการเผาทุ่งหญ้าแบบซาวานา (Prescribed Burning of Savannas) - F. กลุ่มการเผาชีวมวลในที่โล่ง (Field Burning of Agricultural Residues) G. กลุ่มอื่นๆ (Other) 1. ภาคพลังงาน (Energy) A. กลุ่มการเผาไหม้เชื้อเพลิง (Fuel Combustion) Tier 1 1. สาขาอุตสาหกรรมพลังงาน (Energy Industries) 2. สาขาอุตสาหกรรมการผลิตและก่อสร้าง (Manufacturing Industries and Construction) 3. สาขาขนส่ง (Transport) 4. สาขาอื่นๆ (Other Sectors) 4a. สาขา Commercial/Institutional 4b. สาขาครัวเรือน (Residential) 4c. สาขาการเกษตร (Agricultural/Forestry/Fishing) 5. กลุ่มอื่นๆ (Other) B. กลุ่ม Fugitive Emissions from Fuels 1. สาขา Solid Fuels 2. สาขา Oil and Natural Gas 5. ภาคการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่และป่าไม้ (Land Use, Land-Use Change and Forestry) A. กลุ่มการเปลี่ยนแปลงของป่าและปริมาณชีวมวล (Changes in Forest and Other Woody Biomass Stocks) Tier 2 B. กลุ่มการปรับเปลี่ยนป่าและทุ่งหญ้า (Forest and Grassland Conversion) C. กลุ่มการจัดการพื้นที่ว่างเปล่า (Abandonment of Managed Lands) D. กลุ่มอื่นๆ (Other) - 6. ภาคของเสีย (Waste) A. กลุ่มการจัดการของเสียบนดิน (Solid Waste Disposal on Land) B. กลุ่มการจัดการน้ำเสีย (Wastewater Handling) C. กลุ่มการกำจัดขยะด้วยเตาเผา (Waste Incineration) 7. ภาคอื่นๆ (Other) 2. ภาคกระบวนการอุตสาหกรรม (Industrial Processes) A. กลุ่มผลิตภัณฑ์แร่ (Mineral Products) Tier 1 B. กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี (Chemical Industry) C. กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตโลหะ (Metal Production) D. กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ (Other Production) E. กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตสารฮาโลคาร์บอนและซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (Production of Halocarbons and SF6) F. กลุ่มการใช้สารฮาโลคาร์บอนและซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (Consumption of Halocarbons and SF6) G. กลุ่มอื่นๆ (Other) 3. Solvent and Other Product Use (ภาคตัวทำละลาย) -

Energy Sector Combustion process : CO2 , (CH4, N2O,) Power plant, Industries, transportation

Emission from industrial process Chemical process ; CO2 , (CH4, N2O,) HFC, PFC, SF6

Emission from industrial process Cement production--- CO2 Petrochemical -----N2O CH4 Iron and steel ------ CH4 Carpolactam----------N2O

Agriculture How methane and N2O produced

Methane emission from rice field Denier van der Gon, 1996].

Land-use change and forestry Land degradation: CH4, N2O Thermal process ; CO2 , (CH4, N2O,)

Land-use change and forestry Changes in forest and other woody biomass stocks - · Forest and grassland conversion Abandonment of croplands, pastures, plantation forests, or other managed lands

Waste sector Biological and thermal process: CH4, N2O (CO2) SWDS and Wastewater Biological and thermal process: CH4, N2O (CO2)

Solid Waste Anaerobic digestion Incineration Landfill

Wastewater handling and discharge Domestic waste water Industrial wastewater

Cross cutting issues Uncertainty analysis Transparency Activity data Emission factor Overall Transparency Documentation Source by source description template Worksheet calculation Key sources analysis Time series 2000-2004

3. Emission in 2000 by sectors

Emission in 2000 (Mt CO2 eq,%) – by sector National total including LULUCF = 229.09 Mt CO2 eq Emission in 2000 (Mt CO2 eq,%) – by sector

Emission in 2000 of Energy sector (Mt CO2 eq,%)

Emission in 2000 of ‘Industrial Process’ (Mt CO2 eq,%)

Emission in 2000 of ‘Agriculture’ (Mt CO2 eq,%)

Emission in 2000 of ‘LULUCF’ (Mt CO2 eq,%)

Emission in 2000 of ‘Waste’ (Mt CO2 eq,%)

Global GHG Emission เพิ่มขึ้น 70% จาก 1970-2004 GtCO2-eq/yr Total GHG emissions 60 55 เพิ่มขึ้น 70% จาก 1970-2004 50 40 35 30 25 CO2 ตัวการหลัก จาก fossil fuel 20 15 10 5 1970 1980 1990 2000 2004 IPCC AR4 WGIII 2007

Emission in 2000 by gas types

Share of GHG type by sector

Key Categories Analysis

Key Categories with LUCF

Key Categories : CO2 emission and removal

Key Categories: CH4

Key Categories: N2O

TIME SERIES 2000 - 2004

National Total Emission 2000 – 2004 with LULUCF

National Total Emission 2000 – 2004 3.2 % increase per year 5.6 % increase per year 1.2 % increase per year 8.4% increase per year 5.9 % increase per year สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2553

4. ปัญหาที่พบในการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจก เริ่มต้นใหม่ไม่มีข้อมูลเดิม การจัดหาข้อมูลกิจกรรม ข้อมูลไม่มี ข้อมูลไม่สอดคล้องกัน มีข้อมูลหลายชุด ไม่มีข้อมูลในปีที่ต้องการ คุณภาพของข้อมูล

ความท้าทายการจัดทำในครั้งต่อไป จัดทำด้วย 2006 IPCC NGHGI Guideline พัฒนาด้วย tier ที่สูงขึ้น ฐานข้อมูลใหม่ ฐานข้อมูลระดับชาติ การตื่นตัวของหน่วยงาน โครงสร้างของ ระบบแห่งชาติ การเชื่อมโยงข้อมูลกับ mitigation options และการกำหนดเป้าหมายในอนาคต

LUCF  LULUCF  AFOLU

ความท้าทายกับพันธกรณีในอนาคต ความพร้อมในการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกทุก 2 ปี การใช้ประโยชน์จากการคำนวณ การรายงานของปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกใน inventory การผนวกกับระบบ registry ของประเทศ ข้อมูล การคำนวณของ NAMAs

บทสรุป ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศไทยเพิ่มขึ้น ในช่วง 2000-2004 ร้อยละ 3.8 ต่อปี ภาคพลังงานปล่อยมากที่สุด ประมาร ร้อยละ 60 การปล่อยในภาคพลังงานเพิ่มขี้นร้อยละ6.7 ต่อปี การเพิ่มมีความสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้น ของ GDP สาขาที่มีการเพิ่มสูงคือสาขาการชัพลังงานในอตสาหกรรม สาขาขนส่ง และสาขาผลิตไฟฟ้า ดัชนีการปล่อยเฉพาะก๊าซ CO2 ของประเทศ อยู่ในลำดับสูง ภาพรวมการปล่อยทั้งหมดของประเทศ ยังอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ขอบคุณครับ ONEP

Thailand 3.3 Data Sources and Notes 2009 WRI,CAIT

CO2/GDP Data Sources and Notes 2009 WRI,CAIT

Data Sources and Notes 2009 WRI,CAIT

ภาคกระบวนการอุตสาหกรรม ภาคการป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดิน รายชื่อนักวิจัย ส่วนกลาง รศ.ดร.สิรินทรเทพ เต้าประยูร หัวหน้าโครงการ ดร.ณัฐพงษ์ ชยวัฑโฒ ผู้จัดการโครงการ 1 ดร. อวัสดา พงศ์พิพัฒน์ ผู้จัดการโครงการ 2 ภาคพลังงาน นักวิจัย ผศ.ดร.สุธรรม ปทุมสวัสดิ์ : KMUTB ผศ.ดร. จำนง สรพิพัฒน์ : JGSEE-KMUTT ผู้ช่วยนักวิจัย นายธราธร คงแก้ว : JGSEE-KMUTT นายจักรพงศ์ พงศ์ธไนศวรรย์ : JGSEE-KMUTT ภาคการเกษตร นักวิจัย ดร.อรรณพ นพรัตน์ : KMUTT รศ.ดร.สิรินทรเทพ เต้าประยูร : JGSEE-KMUTT ผศ.ดร.อำนาจ ชิดไธสง : JGSEE-KMUTT ผศ.ดร.สาวิตรี การีเวทย์ : JGSEE-KMUTT ผู้ช่วยนักวิจัย นางสาวอรอมล เหล่าปิตินันท์ : KMUTT นางสาวทัศนีย์ เจียรพสุอนันต์ : JGSEE-KMUTT นายพงษ์เทพ หาญพัฒนากิจ : JGSEE-KMUTT นายเอกพล จันทร์เพ็ญ : JGSEE-KMUTT ภาคกระบวนการอุตสาหกรรม นักวิจัย ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร KMUTT ผู้ช่วยนักวิจัย นางสาวธนิตา อารีรบ JGSEE-KMUTT ภาคการป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดิน นักวิจัย ผศ.ดร.อำนาจ ชิดไธสง : JGSEE-KMUTT ผศ.ดร.สาวิตรี การีเวทย์ : JGSEE-KMUTT ผู้ช่วยนักวิจัย นายพงษ์เทพ หาญพัฒนากิจ : JGSEE-KMUTT นายเอกพล จันทร์เพ็ญ : JGSEE-KMUTT ภาคของเสีย นักวิจัย รศ.ดร. ชาติ เจียมไชยศรี :KU รศ.ดร.สิรินทรเทพ เต้าประยูร : JGSEE-KMUTT ผู้ช่วยนักวิจัย นางสาวสุขุมา ชิตาภรณ์พันธุ์ : KU นายสมรัฐ นัยรัมย์ : JGSEE-KMUTT