Malignant Hyperthermia

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ประวัติ (ต่อ ) สภาพครอบครัว ผลกระทบจากการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
Myasthenia Gravis.
Medication Review.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ภาวะไตวาย.
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับหัตถการทางออร์โธปิดิกส์
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
SEPSIS.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Malignant Hyperthermia เกศชาดา เอื้อไพโรจน์กิจ

J Med Assoc Thai 88(7);149

Thai MH No Hx of MH, neuromuscular disorders in patients / family Rapid sequence induction IV thiopentone 70 mg and succinylcholine15 mg HR 160, massive fasciculation Difficulty to open mouth

Thai MH Spontaneous ventilation End-tidal CO2 of 50 mm Hg ,BT 39.3 Heart rate 170 Cr 0.7, Na 139 K 5.5

Thai MH pH 7.25 PaCO2 41 PaO2 375 HCO3 17 BE -9. CPK 34460 unit/L

นิยาม ภาวะการเกิดการเผาผลาญพลังงานภายในเซลล์มากผิดปกติจนเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต calcium ภายในเซลล์มากผิดปกติ จนทำให้เกิด เมตาบอลิสึมในเซลล์อย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง ทำให้อวัยวะต่าง ๆ ทำงานผิดปกติจนถึงแก่ชีวิต

ตัวกระตุ้น การผ่าตัด Succinylcholine ยาดมสลบ

การประเมินก่อนการให้ยาสลบผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิด MH เป็น MH หรือมีอาการคล้าย MH จากการดมยาสลบครั้งก่อน มีโรคที่มีความสัมพันธ์กับ MH

โรคที่มีความสัมพันธ์กับ MH Central-Core Disease ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา ในเด็กสังเกตได้จากการพัฒนาเกี่ยวกับการยืน,เดินช้าผิดปกติ สามารถวินิจฉัยโดยการทำ muscle biopsy Central-Core Disease ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา ในเด็กสังเกตได้จากการพัฒนาเกี่ยวกับการยืน,เดินช้าผิดปกติ สามารถวินิจฉัยโดยการทำ muscle biopsy

โรคที่มีความสัมพันธ์กับ MH Associated diseases Duchenne Muscular Dystrophy King-Denborough Syndrome Other myopathies Becker Muscular Dystrophy Periodic Paralysis Myotonia Congenita Schwartz-Jampel Syndrome Fukuyama Type of Congenital Muscular Dystrophy Mitochondrial Myopathy Sarcoplasmic Reticulum Adenosine Triphosphate Deficiency ผู้ป่วยอาจแสดงอาการผิดปกติ ได้แก่ กล้ามเนื้ออ่อนแอ บริเวณหน้า, แขน หรือขา, หลังคด, กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือแข็งเกร็งผิดปกติ

ผู้ป่วยเกิดอาการเกร็งของกราม (masseter spasm) หลังได้รับ succinylcholine เกร็งเล็กน้อย เปิดปากได้ลำบาก ใช้ยาสลบที่ไม่ใช่ยากระตุ้น MH เกร็งมาก ต้องใช้แรงหรือเครื่องมือเพื่อเปิดปาก ระงับการให้ยาสลบและการผ่าตัดในกรณีการผ่าตัดไม่เร่งด่วน

วิธีการเตรียมระงับความรู้สึกในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เตรียมเครื่องดมยาสลบและวงจร นำ vaporizer ออก เปิดไล่วงจรด้วยออกซิเจน 10 ลิตร/นาที นาน 5 นาที เปลี่ยนอุปกรณ์ corrugate tubes reservoir bag ventilator bellow soda lime

N2O เตรียมยาและอุปกรณ์ที่ใช้รักษา MH เลือก วิธีการฉีดยาชา succinylcholine N2O volatile

Check list สำหรับยาและอุปกรณ์เพื่อรักษาภาวะ MH (MH cart)

ตารางที่ 2 Check list สำหรับยาและอุปกรณ์ เพื่อรักษาภาวะ MH (MH cart)

ตารางที่ 2 Check list สำหรับยาและอุปกรณ์ เพื่อรักษาภาวะ MH (MH cart)

การวินิจฉัยแยกโรค ปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยต่อไป Thyroid storm Sepsis Neuroleptic malignant syndrome Pheochromocytoma ปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยต่อไป ให้การรักษาแบบ MH พบว่าได้ผลการรักษาที่ดีด้วยเช่นกัน

แผนภูมิการรักษา Malignant Hyperthermia ขอความช่วยเหลือ จากวิสัญญีแพทย์ , ศัลยแพทย์ , พยาบาล เฝ้าระวัง,รักษาอาการ (24-48 ชม.) Dantrolene 2-3 มก/กก ต่อด้วย1มก/กก ทุก6 ชม (ไม่เกิน 10 มก/กก/วัน) ติดต่อขอยาได้ที่ ????

แผนภูมิการรักษา Malignant Hyperthermia เปลี่ยนเครื่องและวงจรยาดมสลบใหม่ ให้ยาสลบชนิดฉีดแทนยาดมสลบ ให้ออกซิเจน 100% อัตรา 10 ลิตร/นาที เพิ่มการช่วยหายใจ (MV) เป็น 2 เท่า แก้ acidosis -7.5% NaHCO3 1-2 mEq/kg

แผนภูมิการรักษา Malignant Hyperthermia แก้ภาวะ K+ สูง - RI 10 u ใน 50% glucose 50 มล. - แก้ K+ สูงที่เกิด arrhythmia - CaCl2 / calcium gluconate 2-5 มก/กก ทำให้ปัสสาวะออก 1-2 มล/กก/ชม -Furosemide ลดอุณหภูมิร่างกาย -Irrigation ด้วย saline เย็น

แผนภูมิการรักษา Malignant Hyperthermia เฝ้าระวัง 24-48ชม.

ควรจัดหาคนช่วยผสมยา dantrolene ผลข้างเคียงของยา ได้แก่ กล้ามเนื้ออ่อนแรง คลื่นไส้ ท้องเดิน มองภาพซ้อน งุนงง

การรักษา Malignant Hyperthermia การลดอุณหภูมิร่างกาย ให้ normal saline เย็น เข้าทางหลอดเลือดดำ สวนล้างด้วย normal saline เย็นเท่าที่ทำได้ การสวนล้างไม่ควรใช้ Ringer solution

การรักษา Malignant Hyperthermia ระบายความร้อนทางผิวหนัง หยุดการลดอุณหภูมิวิธีต่าง ๆ เมื่ออุณหภูมิกายลงมาถึง 38oC (100.4oF)

การให้คำอธิบายและคำแนะนำเกี่ยวกับ MH แก่ญาติผู้ป่วย การเฝ้าระวังในขณะที่อยู่ในภาวะวิกฤติ รวมถึงในระยะที่พ้นภาวะวิกฤติไปแล้ว อธิบายถึงโอกาสจะเกิดภาวะ MH ในญาติของผู้ป่วย ญาติจำเป็นต้องให้ข้อมูลกับบุคลากรทางการแพทย์ทุกครั้งที่เข้ารับการรักษา หรือมีเครื่องหมายติดตัว

การรักษาทางคลินิค ผู้ให้การรักษาสามารถปฏิบัติการรักษาแตกต่างจากแนวปฏิบัติฉบับนี้ได้ด้วยวิจารณญาณตามความเหมาะสมของแต่ละสถานพยาบาล

MH clinical grading scale Process I : Muscle rigidity Generalized rigidity 15 Masseter rigidity 15 Process II : Myonecrosis elevate CK > 20,000(+ succ) 15 elevate CK > 20,000 15 myoglobin in urine> 60 mcg/d 5 blood/plasma/serum K > 6mEq/l 3 Anesthesiology; 1994: 80:771-779

Process III : Respiratory acidosis PetCO2 > 55 with CV 15 PaCO2 > 60 with CV 15 PetCO2 > 60 with SV 15 inappropriate hypercarbia 15 Process IV : Temperature rapid increase in temperature 15 inappropriate temperature>38.8 10 in perioperative Process V : Cardiac involvement Inappropriate tachycardia 3 V tachycardia/ ventricular fibrillation 3

Score 20-34 grade 4 Score 35-49 grade 5 Score >50 grade 6

Clinical Experience Related to Malignant Hyperthermia among Thai Anesthesiologists: A Nationwide Study   Ketchada Uerpairojkit MD, Athitarn Earsakul MD, Suchada Prapreuttham MD

Not evaluated/ Not monitored (%) Indicators Number (%) Not evaluated/ Not monitored (%) End-tidal CO2 > 55 mmHg with controlled ventilation 11 (44%) 13 (52%) Cardiac involvement sinus tachycardia V tachycardia /V fibrillation 25 (100%) 4 (16%) 0 (0%) Rigidity Masseter spasm Generalized 21 (84%) 1 (4%) 2 (8%)

Not evaluated/ Not monitored (%) Indicators Number (%) Not evaluated/ Not monitored (%) Temperature increase Rapid increase Temperature > 38.8 oC 16 (64%) 13 (52%) 2 (8%) 18 (32%) Muscle break down Serum K+ > 6 meq/L Elevated CK > 20,000 UrineMyoglobin > 60 mcg/L 15 (60%) 14 (52%) 12 (48%) 5 (20%) 7 (28%)

Prepare and administer dantrolene 8 (32%) Change the circle system and carbondioxide absorber 19 (76%) Discontinue volatile agents and use intravenous agents instead 16 (64%) Administer 100% oxygen at flow of 10 L/min 23 (92%) Increase minute ventilation two times Correct metabolic acidosis 7.5% sodium bicarbonate 1-2 mEq/kg 15 (60%)

Regular insulin iv and 50 ml 50% glucose Correct hyperkalemia Regular insulin iv and 50 ml 50% glucose Calcium choloride 10 mg/kg 11 (44%) 7 (28%) Induce diuresis to 1-2 mL/kg/hour Cool the patients 21 (84%)